14094 ข้อความ
- 1 คนสงสัยชอบมากพระสังฆราชเทศน์ ดอกชบาไม่เคยอิจฉาดอกกุหลาบ หญ้า…ถ้าอยู่ในกระถางต้นไม้ คือส่วนเกิน แต่ถ้าอยู่ในทุ่งกว้าง มันจะสวยสดงดงามเสมอ เหรียญบาท…อยู่ในร้านอาหาร เป็นแค่เศษเหรียญ แต่ถ้าไปอยู่หน้าห้องน้ำที่ต้องใช้เหรียญหยอด แม้แต่เศรษฐีพันล้านยังต้องการ ทุก ๆ คน มีค่าเท่าเทียมกัน แต่ต้องอยู่ให้ถูกที่ ถูกเวลา รู้ว่าที่ไหนเหมาะกับเรา ที่ไหนที่เราจะมีค่ามากที่สุด โลกนี้เต็มไปด้วยดอกไม้นานาพันธุ์ ชบาไม่เคยอิจฉากุหลาบ กุหลาบไม่เคยอวดว่าตนราคาแพงกว่าในวันวาเลนไทน์ คุณนายตื่นสาย ไม่เคยสงสัยว่าทำไมไม่ตื่นเช้าเหมือนทานตะวัน พวกมันต่างเติบโตในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับตัวเอง แล้วก็ผลิบานออกดอกสวยงามให้เห็น ตามฤดูกาลที่มันควรจะเป็น ทว่าคนเรามักจะสงสัย และยกตัวเองไปเปรียบเทียบว่า ทำไมฉันไม่เหมือนคนอื่น ฉันไม่มีอย่างเขา ทำไมฉันไม่เป็นแบบนั้น ฉันไม่เป็นแบบนี้ ทำไมคนอื่น ๆ ถึงต้องการให้เราเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ต้องรวยแบบนี้ ต้องเป็นแบบคนนั้น ถึงจะเรียกว่าประสบความสำเร็จ พาลพลาดโอกาสที่จะถามตัวเองว่า “จริง ๆ แล้วเราต้องการอะไร” ตัวฉันมีความสำคัญต่อใคร และทำอะไรเพื่อใครได้บ้าง ท่ามกลางธรรมชาติอันงดงาม ต้นไม้ทุกต้น ต่างทำหน้าที่ของตัวเองอย่างเต็มที่ ไม่เสียเวลาไปกับการคิดฟุ้งซ่าน ดูแคลนตัวเอง หรือเปรียบเทียบคนอื่น บางคนเรียนจบตอนอายุ 22 ปี แต่ต้องรออีก 3 ปี ถึงจะมีงานทำ บางคนเป็นนักธุรกิจที่ยอดเยี่ยม ประสบความสำเร็จตั้งแต่อายุ 25 แต่ต้องมาประสบอุบัติเหตุ จบชีวิตลงตอนอายุ 40 ปี บางคนท้องก่อนแต่ง ขณะที่บางคนแต่งงานแล้ว แต่มีลูกไม่ได้ ประธานาธิบดีโอบามา วางมือจากการเมืองในอายุ 55 ปี ขณะที่โดนัลด์ ทรัมป์ เป็นประธานาธิบดีในวัย 70 ปี แจ๊ค หม่า เคยโดนเคเอฟซีปฏิเสธรับเข้าทำงาน ไม่กี่สิบปีต่อมา เขาซื้อกิจการเคเอฟซีทั้งหมดในจีน ทุก ๆ คนบนโลกใบนี้ ต่างอยู่ใน T i m e z o n e ของตัวเอง ผู้คนรอบตัวเราบ้างก็โดดเด่นขึ้นก่อนหน้าเรา บางคนก็ประสบความสำเร็จทีหลังเรา แต่ทุกคนกำลังวิ่งอยู่ในลู่ แข่งกับเวลาของตัวเอง อย่าเอาตัวเองไปเปรียบเทียบกับใคร จนเราหมดกำลังใจ อย่าประเมินใครต่ำเกินไป หรือดูถูกใครเด็ดขาด เขาอาจกำลังทำงานอย่างหนักใน T i m e z o n e ของเขาอยู่ และเราก็ควรทำแบบนั้นเช่นกัน ชีวิตของแต่ละคน มีช่วงเวลาที่จะสำเร็จ เพียงแค่ต้องรอคอยจังหวะเวลาเท่านั้น ไม่มีหรอกคำว่า ล้มเหลว มีแต่ยอมแพ้แล้ว ล้มเลิก ไม่มีอะไรที่ “เร็วไป” หรือ “ช้าไป” จงอย่าเปรียบเทียบความสำเร็จของเรา กับความสำเร็จของใคร เพราะความสำเร็จของทุกคน มีช่วงเวลาที่เหมาะสมของมันเสมอ ๑๐ สิ่งที่ควรเปลี่ยน เพื่อประสบความสำเร็จ ๑. ให้เวลากับ “โลกรอบตัว” มากกว่า “โลกออนไลน์” ๒. พยายามเป็น “ผู้ให้” มากกว่า “ผู้รับ” ๓. เข้าใจ “เขา” ให้เท่ากับเข้าใจ “เรา” ๔. รู้จัก “ขอบคุณ” ให้มากกว่า “ขอโทษ” ๕. รับฟัง “คำติชม” ให้มากกว่า “คำชื่นชม” ๖. รู้ทัน “สิ่งภายใน” ให้มากกว่า “สิ่งภายนอก” ๗. เลิก “ตามหา” ความสุขแต่ หันกลับมา “มองเห็น” ความสุข ๘. เลิก “ตั้งคำถาม” แต่หาทาง “ค้นคำตอบ” ๙. เปลี่ยนการ “ตอกย้ำ” เป็นเตือนตัวเองซ้ำ ๆ ให้ “เปลี่ยนแปลง” ๑๐. อยู่กับ “ปัจจุบัน” ให้มากกว่าอยู่กับ “ความทรงจำ” ขอขอบคุณ t i m e p o s t 2 0 0 0 มูลนิธิสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช วัดบวรนิเวศวิหาร ในพระบรมราชูปถัมภ์ความสวยความงามมีมไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้ว
- 1 คนสงสัยผู้ถือสิทธิประกันสังคมสามารถทำฟันฟรีได้ 900 บาท จริงหรือผู้ถือสิทธิประกันสังคมสามารถทำฟันฟรีได้ 900 บาท จริงหรือSofia Idea• 3 ปีที่แล้วmeter: true2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยแก้ปัญหาแก๊งค์Call Centerสำนักงานตำรวจแห่งชาติจับมือกับเครือข่ายโทรศัพท์ในการตอบโต้ปัญหา Call center เพื่อแนะนำวิธีการป้องกันตัวจากแก๊งค์Call Center ที่แพร่ระบาดในปัจจุบันโดยเพียงแค่ทุกครั้งที่ Call Center โทรหรือส่ง Message มาให้เอาเบอร์ไปแจ้งเข้าระบบ เพื่อบล็อคเบอร์ดังกล่าว จากนั้นเบอร์จะถูกส่งต่อให้ตำรวจ PCT ดำเนินการต่อไปภายใน 72 ชม. เพียงเท่านี้ Call Centerก็จะใช้เบอร์นั้นหลอกคนไม่ได้อีก ต้องเปลี่ยนเบอร์ใหม่ ก็โดนบล็อคอีกแน่นอน อีกทั้งยังจะถูกตามตัวได้ง่ายขึ้น ช่องทางแจ้งดังนี้ครับ 📞Ais 🟢 1185 📞True🔴 9777 📞Dtac🔵 1678ผู้บริโภคเฝ้าระวังMrs.Doubt• 3 ปีที่แล้วmeter: true2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยhttps://prachatai.com/journal/2022/04/98263ไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยกดตกลงข้อความในไลน์ จะโดนแฮกข้อมูลทันทีไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยเหงื่อออกที่มือ เสี่ยงเป็นมะเร็งไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้วmeter: false2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยโรงเรียนอนุบาลปัตตานี สามารถคลุมฮีญาบไปโรงเรียนได้แล้ว จริงหรือไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้วmeter: true2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยกทม. งดบริการงานทะเบียน ทำบัตรแรงงานต่างด้าว ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2565 จริงหรือ ?ไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยห้ามซื้อ-ขายประทัดในช่วงเดือนรอมฎอน จริงหรือไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้วmeter: true2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยญี่ปุ่นมีตู้หยอดเหรียญน้ำแร่มหัศจรรย์ฆ่าเชื้อโควิดไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้วmeter: false2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้วmeter: false2 ความเห็น
- 1 คนสงสัยลูกองคมนตรีถูกจับที่อเมจริงไหมไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยมีมไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้ว2 คนว่า มีความเห็นส่วนตัว
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้วmeter: false1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยในวันที่ 17 เมษายน 1955 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ถูกส่งตัวเข้าโรงพยาบาล หมอพบว่าหลอดเลือดเอออร์ตาส่วนท้องปริแตก ทำให้เลือดไหลในช่องท้อง เขาต้องได้รับการผ่าตัด ทว่าอัจฉริยะของโลกบอกหมอว่าเขาไม่ปรารถนาจะรับการผ่าตัดใด ๆ เขากล่าวว่า “ฉันต้องการจากไปเมื่อฉันต้องการ มันไร้รสชาติที่ต่ออายุอย่างผิดธรรมชาติ ฉันทำงานของฉันจบแล้ว ถึงเวลาไปแล้ว ฉันจะจากไปอย่างสง่างาม” แล้วไอน์สไตน์ก็จากโลกไปในวันรุ่งขึ้น วัยเจ็ดสิบหก ง่าย ๆ เช่นนั้น เป็นเรื่องอัตโนมัติอย่างยิ่งสำหรับหมอและญาติคนไข้ที่จะยืดชีวิตคนไข้ให้อยู่ในโลกนานที่สุด โดยความคิดว่าการมีชีวิตยืนยาวที่สุดเป็นเรื่องดี ต่อให้รู้อยู่แก่ใจว่าการอยู่ในโลกนานกว่ากำหนดโดยมีสายช่วยชีวิตระโยงระยาง เป็นความทุกข์ที่เราสร้างขึ้นเอง กระนั้นก็ยังทำทุกวิถีทางเพื่อต่อชีวิตให้ยาวที่สุด คนไข้จำนวนมากในโลกมีชีวิตอยู่ในสภาพตายไปครึ่งตัว บางคนอยู่ในสภาวะโคม่านาน 10-20 ปี บางคนสมองตายแต่ยังหายใจอยู่ เพราะญาติไม่ยอมให้ถอดเครื่องช่วยชีวิต เหล่านี้เกิดขึ้นเพราะค่านิยมและความเชื่อว่า “ชีวิตเป็นของมีค่า” ไอน์สไตน์กลับมองว่า ‘ความมีค่า’ กับ ‘ความยาว’ ของชีวิต ไม่ได้อยู่ในสมการเดียวกัน เขารู้ว่าความยาวของเวลาเป็นเพียงมายา เพราะเวลาเป็นเพียงค่าสัมพัทธ์ ไอน์สไตน์สมแล้วที่เป็นคนฉลาดที่สุดคนหนึ่งในโลก มิเพียงจะเข้าใจหลักฟิสิกส์อย่างดีเยี่ยม หากยังสามารถใช้หลักฟิสิกส์ในชีวิตจริง! เข้าใจสมการชีวิตอย่างลึกซึ้ง และเขาก็ใช้ชีวิตเช่นแนวคิดเรื่องสัมพัทธภาพของเขา! ........... แนวคิดเรื่องสัมพัทธภาพอาจฟังดูซับซ้อนเกินเข้าใจ แต่เมื่อมองในมุมการเข้าถึงธรรมของพุทธ จะเข้าใจได้ง่ายขึ้นมาก เพราะปรัชญาพุทธอธิบายหลักการใช้ชีวิตให้มีทุกข์น้อยที่สุดได้โดยการละวางทวิลักษณ์ เนื่องจากมันเป็นมายา เป็นมายาอย่างไร? ชายคนหนึ่งเที่ยวรอบโลกอย่างสนุกสนานนานหกเดือน เขารู้สึกว่าเวลาหกเดือนสั้นอย่างยิ่ง แต่หากเขาต้องโทษจำคุกหกเดือน หกเดือนเท่ากันนั้นจะยาวนานอย่างยิ่ง นี่ก็คือสัมพัทธภาพ มันเกิดจากการเปรียบเทียบเวลาที่บวกความสนุกกับเวลาที่บวกความไม่สนุก ย่อมรู้สึกว่าแตกต่าง ทั้งที่เป็นเวลาเท่ากัน สมมุติว่าธรรมชาติสร้างให้มนุษย์ทั้งโลกมีอายุเฉลี่ย 30 ปี เราจะเคยชินกับตัวเลขนี้ และรู้สึกว่าถ้าใครอายุถึง 40 คือยืนยาวมาก แต่ใน พ.ศ. นี้ อายุเฉลี่ยของมนุษย์คือ 70-80 ปี ตัวเลข 40 ก็กลายเป็น ‘สั้น’ ขึ้นมาทันที ทั้งที่เป็นระยะเวลาเท่ากัน ถ้าวันหนึ่งในอนาคต อายุเฉลี่ยของมนุษย์สูงขึ้นถึง 150 ปี ตัวเลข 80 ที่เรารู้สึกว่า ‘ยาว’ ในวันนี้ก็จะกลายเป็น ‘สั้น’ ขึ้นมาทันที ความยาว-สั้นจึงเป็นสัมพัทธ์และเป็นมายา เมื่อเราเอามือแตะน้ำเดือด เรารู้สึกว่ามัน ‘ร้อน’ เมื่อแตะน้ำเย็น เรารู้สึกว่า ‘เย็น’ แล้วเราก็ตั้งเป็นกฎขึ้นมาว่า 100 องศาเซลเซียสคือร้อน 0 องศาคือเย็น ทว่าสัตว์น้ำหลายพันธุ์ซึ่งอาศัยบริเวณปล่องภูเขาไฟระอุใต้มหาสมุทรกลับอยู่ในน้ำเดือดปุดอย่างสบาย พวกมันไม่รู้สึกว่าบ้านน้ำเดือดของมันร้อนแต่อย่างไร เพราะพวกมันชินของพวกมันอย่างนั้น ถ้าพวกมันรู้สึก ‘ร้อน’ สุดทนทาน ก็คงย้ายบ้านไปอยู่ที่อื่นแล้ว ค่า ‘ร้อน’ จึงไม่สัมบูรณ์ ไม่ตายตัว ไม่ใช่ความจริงสูงสุด เพราะเราชาวมนุษย์กับสัตว์ใต้ทะเลพวกนั้นเห็นต่างกัน เราบอกว่าร้อนเพราะเราใช้มาตรฐานความเคยชินของเราวัด พวกมันบอกว่าไม่ร้อนเพราะใช้มาตรของพวกมันวัด ร้อน-เย็นจึงเป็นสัมพัทธ์และเป็นมายาเช่นเดียวกัน ทุกข์-สุขก็เป็นมายา ไม่ใช่ค่าตายตัว เป็นสัมพัทธภาพขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่เราวัดด้วยความรู้สึกและอารมณ์ในแต่ละช่วงเวลา คนคนหนึ่งเห็นว่าเรื่องหนึ่งเป็นทุกข์มาก อีกคนหนึ่งมองเรื่องเดียวกันว่าทุกข์น้อยหรือไม่ทุกข์เลย มันไม่มีค่าสัมบูรณ์อย่างแท้จริง สัมพัทธภาพในโลกนี้ก็คือทวินิยม ร้อน-เย็น ยาว-สั้น เหล่านี้เป็นสิ่งที่เรากำหนดให้ตัวเองรู้สึกเองทั้งสิ้น โดยใช้ตัวเองเป็นบรรทัดฐาน เวลาต่างกันก็ทำให้มายาเดิมส่งผลต่างกันได้ เช่น ทุกครั้งที่รถคันอื่นแซง จะรู้สึกโกรธ แต่หากวันนั้นได้รับโบนัสห้าเดือน ถูกรถแซง อาจไม่รู้สึกโกรธอย่างที่เคยเป็น สามารถฮัมเพลงอย่างสบายอารมณ์ด้วยซ้ำ ความรู้สึกที่เรียกว่า ‘ทุกข์’ มีหลายระดับ ขึ้นกับความรู้สึกและประสบการณ์ชีวิตของแต่ละคน ไม่เหมือนกันทั้งที่เป็นเรื่องเดียวกัน ยึดมายาเป็นค่าสัมบูรณ์เมื่อไร เราก็ทุกข์เมื่อนั้น ความรู้สึกและความเคยชินทำให้เรามองข้ามข้อเท็จจริง แล้วติดฉลากสิ่งที่เราไม่ชอบว่า ‘ปัญหา’ ชีวิตก็คือสัมพัทธภาพ ความยาว-สั้นของเวลาชีวิตเป็นเพียงมายา จะอยู่ในโลกนานขึ้นอีกห้าปี สิบปี อาจไม่แตกต่างอะไร หากเวลาที่เรามีนั้นไร้คุณภาพหรือไร้ความหมาย ดังนั้นถ้าหลงคิดว่าตัวเลขอายุมาก ๆ คือดี ก็อาจหลงทาง มองคุณค่าของชีวิตผิดเพี้ยนไป ลองถามตัวเองว่าหากมีชีวิตยาวขึ้นอีกวันสองวัน ร้อยวัน สร้างความแตกต่างอะไรหรือไม่ หากไม่แตกต่าง จำนวนวันบนโลกก็ไม่ใช่เรื่องสำคัญ เร็วหรือช้าไม่มีผลอะไรต่อโลกอีกแล้ว บางทีความยาวของชีวิตอาจไม่สำคัญเท่าว่าช่วงชีวิตที่มีลมหายใจ เจ้าของชีวิตทำอะไร ใช้ชีวิตอย่างไร ที่ทำให้การมีชีวิตอยู่บนโลกของเขานั้นดีกว่าการไม่มี เมื่อเข้าใจสัมพัทธภาพแห่งชีวิต เราก็จะเข้าใจมายาอื่น ๆ อีกมากมาย โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับอารมณ์ความรู้สึก และเมื่อนั้นเราก็อาจสามารถกำหนดชีวิตของเราได้เอง เมื่อพบทุกข์ ก็สามารถพิจารณาว่ามันเป็นเพียงระดับความรู้สึกที่เราสร้างขึ้นมาด้วยความเคยชินหรือด้วยประสบการณ์เก่า เมื่อเข้าใจเราก็อาจสามารถลดมาตรวัดความทุกข์ลง ทำให้รู้สึกแย่น้อยลงทั้งที่เป็น ‘ทุกข์’ อันเดิม ดังนั้นเวลาสุขอย่าลืมตอนทุกข์ เวลาทุกข์อย่าลืมตอนสุข เวลาเศร้าอย่าลืมตอนหัวเราะ เวลาหัวเราะอย่าลืมตอนเศร้า เวลาซึมอย่าลืมตอนสดชื่น เวลาเหงาอย่าลืมตอนมีเพื่อน ฯลฯ เพราะทุกอารมณ์เป็นเรื่องเดียวกัน ต่างที่ว่าจะไปจับตรงช่วงไหนของเรื่องนั้น . จากหนังสือ #ความสุขเล็กๆก็คือความสุขไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้ว1 คนว่า มีความเห็นส่วนตัว
- 1 คนสงสัยไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยทากันแดดสองข้อนิ้วความสวยความงามไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยมะขามป้อม สร้างภูมิคุ้มกัน สู้ภัยโควิด-19มะขามป้อม สร้างภูมิคุ้มกัน สู้ภัยโควิด-19musleem55• 3 ปีที่แล้วmeter: middle1 ความเห็น
- 1 คนสงสัยข่าวดีสำหรับมุสลิมในไทย สามารถไปทำอุมเราะห์ที่ซาอุดีอาระเบียได้ในราคาถูกลงแล้ว จริงหรือไม่ระบุชื่อ• 3 ปีที่แล้วmeter: true1 ความเห็น