1 คนสงสัย
มิจฉาชีพ ปลอมเป็นเพื่อนหลอกยืมเงิน
มิจฉาชีพ ปลอมเป็นเพื่อนหลอกยืมเงิน
Mrs.Doubt
 •  2 ปีที่แล้ว
0 ความเห็น

ผู้บริโภคเฝ้าระวัง

ยังไม่มีใครตอบ

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือ ว่ามีการปลอมไลน์ ปลอมเฟซบุค หลอกยืมเงิน เพื่อความแน่ใจ ควรโทรกลับทันทีจะดีกว่า และควรแคปหน้าจอไว้เป็นหลักฐาน แจ้งตำรวจท้องที่ได้
    กรณีมีข่าวเตือนว่า ปัจจุบันมีการปลอมเฟซบุค หรือไลน์เพื่อหลอกยิมเงิน ทางป้องกันคือ 1.กดรีพอร์ตบัญชีเฟซบุ๊กหรือไลน์ที่เจอว่าปลอมเป็นเรา 2.หลังจากกดรีพอร์ตที่เฟซบุ๊กหรือไลน์แล้ว ให้แจ้งเตือนบอกญาติ และเพื่อน ๆ ว่าเราถูกแอบอ้าง แคปเจอร์รูปสนทนาไว้เป็นหลักฐาน 3.แจ้งความกับตำรวจท้องที่ หรือตำรวจ ปอท. หรือแจ้งทางเว็บไซต์ www.tcsd.go.th/แจ้งเหตุ/ โดยให้รวบรวมหลักฐานท้ังหมด เช่น แคปเจอร์หน้าสนทนา หรือหน้ารูปโพรไฟล์ที่ถูกปลอมขึ้นมา ที่สำคัญระวังการแชร์ข้อมูลส่วนตัว, รหัสผ่าน, ข้อมูลทางการเงิน เพราะตัวปลอมจะเอาไปแอบอ้างเป็นตัวเราได้ ส่วนคนที่เจอส่งข้อความมาขอยืมเงิน จากแอ็กเคานต์ใหม่ของคนที่รู้จัก ทางที่ดี โทร.หาหรือเปิดกล้องคุยกับคนคนนั้นก่อนจะดีกว่า ก่อนเสียรู้ตัวปลอม
    naydoitall
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    เห็นเพื่อนโพสต์ขายของอย่ารีบโอนเงิน ระวังเป็นคนร้ายสวมรอยแฮกบัญชี จริงหรือ
    โฆษกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ฝากประกาศแจ้งเตือนภัยพี่น้องประชาชนที่ใช้งานสังคมออนไลน์ ที่ปัจจุบันมีการเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์เป็นวงกว้าง มีการแช็ตคุยกันกับเพื่อนในสื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ ปัจจุบันคนร้ายจะพยายามแฮ็ก เข้าถึงข้อมูลส่วนตัวโดยเฉพาะเฟซบุ๊ก แต่เดิมคนร้ายจะแฮ็กเอาบัญชีผู้เสียหายไปแล้วแอบอ้างเป็นเจ้าของบัญชีไปหลอกยืมหรือให้โอนเงิน อ้างเหตุว่าเดือดร้อน หรือซื้อของแล้วยังโอนเงินไม่ได้ ขอร้องผู้เสียหายที่เป็นเพื่อนในเฟซบุ๊กช่วยโอนเงินชำระให้ก่อน ถ้าโอนเงินได้แล้วจะรีบโอนคืนให้ทันที ซึ่งกลอุบายเดิมนี้ก็ยังมีใช้หลอกลวงอยู่
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ธนาคารไทยพาณิชย์ ยืดอกรับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายให้ลูกค้าที่ถูกหลอกถามข้อมูลส่วนตัวโอนเงินให้มิจฉาชีพ จริงหรือ
    “ไทยพาณิชย์” จ่ายชดเชยแสดงความรับผิดชอบลูกค้าถูกมิจฉาชีพหลอกดูดเงินผ่าน SMS สูญกว่า 30 ล้าน
    naydoitall
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    สปสช.แจ้งเตือนมิจฉาชีพแอบอ้างส่ง SMS ให้อัปเดทข้อมูลบัตรทอง มิฉะนั้นจะถูกตัดสิทธิ ย้ำอย่าหลงเชื่อ ระวังโดนแฮกข้อมูลหรือถูกหลอกให้โอนเงิน ยันบัตรทองเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานสำหรับคนไทยทุกคน ไม่มีการตัดสิทธิแน่นอน หากสงสัยอะไรให้โทรสอบถามที่สายด่วน 1330 ก่อน
    วันที่ 31 มีนาคม 2566 ทพ.อรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศ รองเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เปิดเผยว่า ในระยะนี้พบว่ากลุ่มมิจฉาชีพได้แอบอ้างชื่อ สปสช. ส่ง SMS ไปยังโทรศัพท์มือถือของประชาชน โดยอ้างว่า สปสช.มีนโยบายให้อัปเดทข้อมูลบัตรบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้าหรือบัตรทองให้เป็นข้อมูลปัจจุบัน มิฉะนั้นจะถูกตัดสิทธิทันที พร้อมแนบลิงก์สำหรับให้คลิกเข้าไปอัปเดทข้อมูล ทพ.อรรถพร กล่าวว่า สปสช. ไม่มีนโยบายโทรหรือส่ง SMS สอบถามข้อมูลส่วนบุคคลแต่อย่างใด SMS เหล่านี้ไม่ได้ส่งจาก สปสช. แต่เป็นการแอบอ้างชื่อเพื่อหลอกให้เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลแก่กลุ่มมิจฉาชีพ ดังนั้น โปรดอย่าได้หลงเชื่อคลิกลิงก์ที่แนบมาด้วย เพราะมีความเสี่ยงที่อาจจะถูกแฮกข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลทางการเงิน หรืออาจถูกหลอกล่อด้วยวิธีการต่างๆ จนผู้เสียหายหลงโอนเงินไปให้ดังที่มักปรากฎเป็นข่าวอยู่บ่อยครั้งในระยะนี้ ทพ.อรรถพร กล่าวว่า สิทธิบัตรทองนั้น เป็นสิทธิที่ติดตัวตั้งแต่เกิดจนตายสำหรับคนไทยทุกคน ไม่มีการตัดสิทธิใด ๆ ทั้งสิ้น มีแต่การเปลี่ยนไปใช้สิทธิอื่น เช่น หากเข้ารับราชการก็จะเปลี่ยนมาใช้สิทธิสวัสดิการของราชการ หรือหากเข้าทำงานในบริษัทเอกชน ก็จะเปลี่ยนสิทธิมาใช้ระบบประกันสังคม และหากมีการเปลี่ยนสถานะ เช่น ลาออกจากราชการหรือลาออกจากบริษัท ก็จะเปลี่ยนกลับมาเป็นสิทธิบัตรทองโดยอัตโนมัติ แต่ไม่ว่ากรณีใดก็ตาม คนไทยทุกคนจะต้องมีสิทธิการรักษาพยาบาลอย่างน้อย 1 สิทธิเสมอ ไม่มีการตัดสิทธิ/ยกเลิกสิทธิ จนกลายเป็นคนที่ไม่มีสิทธิในการรักษาพยาบาลใดๆ เลยแน่นอน “ระบบบัตรทองเป็น Social safety net หมายความว่า ถ้าคุณใช้สิทธิอะไรในการรักษาพยาบาลแล้วหลุดจากสิทธินั้น ก็จะมีระบบบัตรทองรองรับเสมอ เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่รัฐธรรมนูญกำหนด ไม่มีการหมดสิทธิหรือยกเลิกสิทธิแน่นอน” ทพ.อรรถพร กล่าว ทพ.อรรถพร กล่าวย้ำว่า ปัจจุบันกลุ่มมิจฉาชีพได้พัฒนารูปแบบการหลอกลวงให้แนบเนียนมากขึ้นเรื่อยๆ มีการแอบอ้างชื่อหน่วยงานราชการเพื่อความน่าเชื่อถือ รวมทั้ง สปสช. ก็เป็นอีกหน่วยงานที่ระยะนี้ถูกแอบอ้างชื่อบ่อยครั้งมากขึ้น ทั้งการโทรมาอ้างว่าเป็นเจ้าหน้าที่ สปสช. หรือการส่ง SMS อ้างชื่อ สปสช. รวมทั้งในอนาคตอาจมีการแอบอ้างในช่องทางอื่นๆอีก ดังนั้น หากประชาชนมีข้อสงสัยใดๆ ขอให้โทรตรวจสอบมาที่สายด่วน สปสช. 1330 หรือสอบถามทางไลน์ สปสช. ไลน์ไอดี @nhso ก่อน เพื่อจะได้ไม่ตกเป็นเหยื่อจนสูญเสียเงิน
    std48333
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    วิธีตรวจสอบว่าคนที่ทักแชทมาขอยืมเงินเรานั้นเป็นตัวจริงหรือตัวปลอม ทำยังไงนะ
    📌วิธีตรวจสอบว่าคนที่ทักแชทมาขอยืมเงินเรานั้นเป็นตัวจริงหรือตัวปลอม ทำยังไงนะ 1. ให้ตรวจสอบโปรไฟล์ หรือประวัติการสนทนา เพราะหากเป็นคนที่เรารู้จัก และเคยพูดคุยด้วยย่อมมีประวัติอยู่ หรือบางครั้งตรวจสอบโปรไฟล์และประวัติสนทนาแล้วไม่แน่ใจ ให้ลองค้นหาชื่อเพื่อนของเราในระบบดูว่ามี Account ซ้ำกันหรือเปล่า เพราะอาจจะมีบางอันเป็นของจริงและบางอันเป็นของปลอมได้ 2. ต้องยืนยันตัวตน โดยก่อนที่เราจะโดนเงินให้เพื่อนก็ต้องแน่ในว่าเป็นเพื่อนเราจริง ด้วยการโทรศัพท์หา ผ่านเบอร์โทร หรือ การเปิดกล้องดูหน้าตาเพื่อน เสียก่อน ซึ่งหากคนที่ทักมาขอยืมเงินเป็นเพื่อนเราจริง ก็ต้องยินยมให้ยืนยันตัวตน 3. เบอร์บัญชีธนาคารที่ให้มา ถ้าไม่ได้เป็นบัญชีของเพื่อนเรา หรือคนที่ทักมาหาเรา ก็ยิ่งต้องตรวจสอบ อย่าเพิ่งรีบโอน 😟แต่ถ้าหาเผลอโอนเงินไปให้กับมิจฉาชีพแล้ว ให้เก็บหลักฐานการโอนเงิน รวมถึงข้อความสนทนาดังกล่าวไปแจ้งความกับตำรวจเพื่อให้ดำเนินคดีตามกฎหมายต่อไป
    ชุมพล ศรีสมบัติ
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    เตือนภัย ผู้ประกันตน "อย่าหลงเชื่อแก๊งมิจฉาชีพ" แอบอ้างสำนักงานประกันสังคม หลอกโอนเงินเข้าบัญชี
    ขณะนี้พบพวกมิจฉาชีพได้แอบอ้างเป็นเจ้าหน้าที่สำนักงานประกันสังคม โทรศัพท์แจ้งผู้ประกันตนให้คืนเงินเกินสิทธิที่สำนักงานประกันสังคมได้โอนเข้าบัญชีผู้ประกันตน โดยบอกหมายเลขบัญชี 4 ตัวท้ายที่โอนเกิน และแจ้งเลขบัญชีให้ผู้ประกันตนโอนเงินกลับคืน ซึ่งถ้าไม่เชื่อให้ติดต่อไปยังสถานีตำรวจ โดยแอบอ้างเบอร์โทรศัพท์ปลอม
    Mrs.Doubt
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ระวัง แอปหลอก แจกเงินดิจิตอล นโยบายเพื่อไทย อย่าแชร์ หรือคลิก
    ระบาดทุกช่องทาง ‼️ เปิดภาพแอปปลอมที่มิจฉาชีพสร้างเพื่อหลอกให้กดลิงก์ดาวน์โหลดลงทะเบียน รับเงินดิจิทัล 10,000 บาท . ด้าน 'ดีอีเอส' แจ้ง google เร่งปิดกั้นแอป Digital Wallet ปลอม
    ชุมพล ศรีสมบัติ
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือ ดีแทคออกมาเตือนลูกค้าให้ระวังถูกมิจฉาชีพลวงขอรหัส OTP ดูดเงิน
    ดีแทค เตือนผู้ใช้บริการระวังถูกมิจฉาชีพโทรแอบอ้างแจ้งว่าหมายเลขโทรศัพท์ซ้ำ 2 หมายเลข พร้อมลวงขอรหัส OTP ก่อนนำไปโอนเงินผู้เสียหายออกจากธนาคาร ย้ำรหัส OTP เป็นรหัสสำคัญที่เป็นขั้นตอนสุดท้ายในการทำธุรกรรมให้สำเร็จ ดีแทคไม่มีกิจกรรมที่พนักงานจะสอบถามข้อมูลส่วนตัวและร้องขอ OTP จากลูกค้าเพื่อไปใช้งานในลักษณะนี้ การติดต่อกับดีแทคต้องผ่านช่องทางอย่างเป็นทางการของดีแทคเท่านั้น ได้แก่ call center 1678, Facebook dtac, Twitter @dtac
    naydoitall
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    มีมิจฉาชีพแฝงตัวมาในลักษณะปล่อยเงินกู้ผ่านระบบออนไลน์ จริงหรือ
    พบว่ามีมิจฉาชีพแฝงตัวมาในลักษณะปล่อยเงินกู้ผ่านระบบออนไลน์ โดยใช้วิธีการเข้ามาขอเป็นเพื่อนผ่านทางเฟซบุ๊ก หรือ ตั้งกระทู้ในเว็บไซต์ต่างๆ ประกาศเชิญชวนให้ใช้บริการเงินกู้ โดยอ้างว่าสามารถกู้เงินได้โดยไม่ต้องมีคนค้ำประกัน หรือ กู้ได้แม้จะติดเครดิตบูโร แถมอนุมัติเงินกู้ได้ภายใน 5 นาทีบ้าง 10 นาทีบ้าง แต่มีข้อแม้ว่าผู้กู้จะต้องโอนเงินค่าธรรมเนียม เป็นเงิน 10% ของเงินที่จะขอกู้ก่อน หรืออาจอ้างว่าต้องมีค่าใช้จ่ายอย่างอื่น เช่น ค่าดำเนินการ ค่าประกันเงินกู้ ค่ามัดจำ ฯลฯ ตามแต่มิจฉาชีพจะกล่าวอ้างเพื่อให้เหยื่อหลงเชื่อแล้วโอนเงินดังกล่าวให้มิจฉาชีพ จริงหรือ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    #กรุงไทยใจดี ให้ยืมเงิน 100,000 บาท
    #กรุงไทยใจดี ให้ยืมเงิน 100,000 บาท ผ่อนเดือนละ 1,653 บาท ไม่ต้องมีคนค้ำ ฟรีค่าธรรมเนียม สมัครง่ายผ่านแอป 5 นาทีรู้ผล !! ดูวิธีลงทะเบียนได้ที่นี่ : https://bit.ly/3gkzb7o
    Mrs.Doubt
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false