1 คนสงสัย
พบบัญชีไลน์ ผู้บริหาร ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชักชวนลงทุน
ไม่ระบุชื่อ
 •  6 เดือนที่แล้ว
meter: false
1 ความเห็น

การเงินแอคปลอม

thanathun เลือกให้ข้อความนี้❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง

เหตุผล

จากเหตุการณ์ที่มีผู้ได้รับข้อความไลน์ชักชวนให้ลงทุนจากผู้บริหาร ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทางตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้ตรวจสอบและชี้แ

ที่มา

https://www.antifakenewscenter.com/การเง⋯ัพย์แห่งประเทศไทย-ส่งข้อความชักชวนลงทุน/

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    ตลาดหลักทรัพย์ฯ จัดพอร์ตลงทุนหุ้นน้ำมันระยะสั้น ขั้นต่ำ 20 หุ้น
    ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จัดพอร์ตลงทุนหุ้นน้ำมันระยะสั้น ธุรกิจพลังงาน ขั้นต่ำ 20 หุ้น ลงทุนเริ่มต้นเพียง 1,000 บาท
    std48320
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ตลาดหลักทรัพย์ฯ เปิดให้ลงทุนหุ้นพลังงานสะอาด
    เปิดให้ลงทุนกลุ่มอุตสาหกรรมหุ้นพลังงานสะอาด เริ่มต้น 2,700 บาท รับปันผลทุกวัน 28% ทางตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เชิญชวนร่วมลงทุนธุรกิจก่อสร้าง
    จากที่มีการโพสต์เชิญชวนโดยระบุว่า ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เชิญชวนร่วมลงทุนธุรกิจก่อสร้าง เริ่มต้นลงทุน ขั้นต่ำ 20 หุ้น กำไร 30% ทางตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า เพจดังกล่าวมีการแอบอ้างชื่อ และโลโก้ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) ข้อมูลดังกล่าวเป็นการกระทำของมิจฉาชีพ
    yusufmassour1
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    #มีความจำเป็นต้องอ่านเพื่อรู้เท่าทันไม่หลงเป็นเหยื่อทำลายประเทศชาติตัวเอง #สถาบันพระมหากษัตริย์ไม่เคยใช้ภาษีประชาชน สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ลงทุนหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย # ซึ่งต้องชำระภาษีอากรเช่นเดียวกับบริษัททั่วไป มีข้อมูลเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ดังต่อไปนี้ บริษัท เทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน) - ทุนจดทะเบียน 500 ล้านบาท มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ - ถือหุ้นร้อยละ 98.54 จำนวน 49,272,239 หุ้น (ออกจากการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2551) บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) (SET:SCC) - ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 1,200 ล้านบาท ราคาตลาดหุ้นละ 474 บาท สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ - ถือหุ้นร้อยละ 30 จำนวน 360 ล้านหุ้น บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด - ถือหุ้นร้อยละ 1.6 จำนวน 19.22 ล้านหุ้น ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) (SET:SCB) - ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 33,944.38877 ล้านบาท ราคาตลาดหุ้นละ 144 บาท สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ - ถือหุ้นร้อยละ 21.3 จำนวน 722.941958 ล้านหุ้น บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด - ถือหุ้นร้อยละ 2.43 จำนวน 82.3678 ล้านหุ้น กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม ดิจิทัล (SET:DIF) - ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 58,080 ล้านบาท ราคาตลาดหุ้นละ 12.2 บาท บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด - ถือหุ้นร้อยละ 0.86 จำนวน 50 ล้านหุ้น บริษัท เจ มาร์ท จำกัด (มหาชน) (SET:JMART) - ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 524.463106 ล้านบาท ราคาตลาดหุ้นละ 9 บาท บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด - ถือหุ้นร้อยละ 0.61 จำนวน 3.1827 ล้านหุ้น บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จำกัด (มหาชน) (SET:PTG) - ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 1,670 ล้านบาท ราคาตลาดหุ้นละ 16.3 บาท บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด - ถือหุ้นร้อยละ 0.5 จำนวน 8.3521 ล้านหุ้น และยังมีการลงทุนในบริษัทดังต่อไปนี้ -สยามพิวรรธน์ -ดอยคำ -บริษัท สยามสินธร จำกัด -บริษัท นวุติ จำกัด -บริษัท เอเพ็กซ์เซล่า จำกัด -บริษัท สยามไบโอไซเอนซ์ จำกัด -เครือโรงแรมเคมปินสกี้ (จากประเทศเยอรมนี ซึ่งสำนักงานใหญ่อยู่ที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์) -บริษัท หินอ่อน จำกัด -บริษัท ฮอนด้าออโตโมบิล (ประเทศไทย) จำกัด -บริษัท องค์การเภสัชกรรม - เมอร์ริเออร์ชีววัตถุ จำกัด -บริษัท ปตท.จำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จำกัด -บริษัท ขนส่งน้ำมันทางท่อ จำกัด -บริษัท นันทวัน จำกัด (ไทยโอบายาชิ) -บริษัท พรีมัส (ประเทศไทย) จำกัด -มหาวิทยาลัยเอเชียน บริษัทในเครือ สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ ดำเนินการจัดตั้งบริษัทในเครือขึ้น 2 แห่ง เพื่อความสะดวกในการบริหารจัดการสินทรัพย์ต่างๆ โดยชำระภาษีอากรเช่นเดียวกับบริษัททั่วไป ดังต่อไปนี้ บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด - ทำหน้าที่บริหารการลงทุนในหุ้นอื่นๆ บริษัท วังสินทรัพย์ จำกัด - ทำหน้าที่ดูแลการลงทุนอสังหาริมทรัพย์รายใหญ่ ผลการดำเนินงาน ภายหลังการมีสถานะเป็นนิติบุคคลในปี พ.ศ. 2491 สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ มีการบริหารงานเช่นเดียวกับองค์กรทั่วไป จนกระทั่งเมื่อเกิดวิกฤติเศรษฐกิจใน พ.ศ. 2540 ซึ่งบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ถือหุ้นอยู่ ได้รับความเสียหายอย่างหนัก จึงมีการปรับปรุงการบริหารงานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง และกิจการต่างๆ ที่ลงทุน เริ่มฟื้นตัวได้ในปี พ.ศ. 2546จึงทำให้สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ มีรายได้ในปีนั้นที่ประมาณ 3,800 ล้านบาท จากการแถลงข่าวประจำปี พ.ศ. 2548 ของสำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ โดยจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ผู้อำนวยการสำนักงานฯ แจ้งว่าในปี พ.ศ. 2547 สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ มีรายได้ประมาณ 5 พันล้านบาท โดยประมาณร้อยละ 90 เป็นรายได้จากเงินปันผลของหุ้นที่ลงทุนใน บมจ.ปูนซิเมนต์ไทย บมจ.ธนาคารไทยพาณิชย์ และ บมจ.เทเวศประกันภัย ที่เหลืออีกประมาณร้อยละ 8 หรือประมาณ 400 ล้านบาท เป็นรายได้จากค่าเช่าที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ 👉 https://bit.ly/2CBG1oO Cr. Tharnn Noiplook
    ไม่ระบุชื่อ
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 2 คนสงสัย
    ข่าวปลอม อย่าแชร์! ตลาดหลักทรัพย์ฯ ชวนลงทุนหุ้น รับปันผล 30,000 บาทต่อเดือน
    กรณีที่มีผู้โพสต์เชิญชวนโดยระบุว่า ตลาดหลักทรัพย์ฯ ชวนลงทุนหุ้น รับปันผล 30,000 บาทต่อเดือน ทางตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า ตลาดหลักทรัพย์ฯ ไม่ได้เชิญชวนลงทุนหุ้นโดยให้รับเงินปันผล 30,000 บาทต่อเดือนแต่อย่างใด และเพจดังกล่าวที่ลงโฆษณานั้นมีการแอบอ้างชื่อ โลโก้ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) โดยที่ไม่ได้รับอนุญาตอีกด้วย
    somosiri14
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ข่าวปลอม อย่าแชร์! ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเปิดลงทุนซื้อแคมเปญใหญ่ ด้วยเงิน 1,000 บาท ได้รับเงินปันผล 13,000 บาทต่อเดือน
    ข่าวปลอม อย่าแชร์! ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเปิดลงทุนซื้อแคมเปญใหญ่ ด้วยเงิน 1,000 บาท ได้รับเงินปันผล 13,000 บาทต่อเดือน
    Mrs.Doubt
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ตลาดหลักทรัพย์ฯ ร่วมกับหลักทรัพย์ที่ปรึกษาการลงทุนเปิดหุ้นกำไร +38% ทุกวัน
    จากที่มีการตรวจพบข่าวสารชวนเชื่อเกี่ยวกับตลาดหลักทรัพย์ฯ ร่วมกับบริษัทหลักทรัพย์ที่ปรึกษาการลงทุน เปิดลงทุนเริ่มต้น 1,000 บาท ปันผลกำไร +38% ทุกวัน ทางตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า เพจดังกล่าวได้มีการแอบอ้างชื่อ และโลโกตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) ในการโพสต์ข้อมูลชวนลงทุน
    std47991
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    "กิตติพงษ์ กิตยารักษ์" ลาออกกรรมการบอร์ด ปตท. แบบฟ้าผ่า โดยเผยว่าสาเหตุการลาออกคือ "เนื่องจากมีภารกิจอื่น" . สำหรับสาเหตุการลาออกที่มีการแจ้งในข่าวประชาสัมพันธ์ว่า "เนื่องจากมีภารกิจอื่น" แต่มีการตั้งข้อสังเกตุ เป็นการลาออกก่อนวาระอย่างกระทันหัน และโดยปกติการลาออกของประธานคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทยักษ์ใหญ่ ที่เป็นบริษัทระหว่างประเทศ แบบ ปตท. เป็นเรื่องใหญ่ ที่ต้องทำอย่างรอบคอบ ไม่ส่งสัญญาณผิด ที่กระทบกับภาพลักษณ์บริษัท และอาจทำให้มีการตีความว่ากำลังเกิดอะไรขึ้นใน ปตท. รายงานข่าวแจ้งว่า ศ.พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ได้ลาออกจากกรรมการบอร์ด ปตท. เมื่อวันที่ 7 มิ.ย. ที่ผ่านมา โดยไม่ให้สัมภาษณ์ใดๆ กับสื่อมวลชน จนเกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์ใน ปตท. เพราะแทบไม่มีเหตุผลใดจะต้องลาออกช่วงเวลานี้ ทั้งนี้ ศ.พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ ได้รับแต่งตั้งเข้ามาดำรงตำแหน่งบอร์ด ในฐานะ "กรรมการอิสระ" เมื่อปี 2558 และได้รับเป็นประธานกรรมการตรวจสอบ ซึ่งช่วงที่เข้าไปใน ปตท.นั้น ก็เป็นรัฐบาล คสช. ภายใต้การนำของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ซึ่งก็ยังเป็นนายกฯ อยู่ในปัจจุบัน แมัจะเปลี่ยนเป็นรัฐบาลมาจากการเลือกตั้งแล้วก็ตาม อย่างไรก็ตาม ตลอดหลายปีที่ผ่านมา สื่อที่เกาะติดปัญหาทุจริตในปตท.ทราบกันดีว่า ในฐานะประธานกรรมการตรวจสอบ ศ.พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ มีผลงานเป็นประจักษ์ด้านการตรวจสอบทุจริต ตามคำประกาศวาระแห่งชาติปราบทุจริตของรัฐบาล เพราะได้สะสางปมทุจริตเรื่องใหญ่ๆ ที่คาใจสังคมและผู้ถือหุ้นไปได้หลายเรื่อง นอกจากนี้ ส่วนสำคัญในการดึงองค์กรตรวจสอบมืออาชีพ และผู้สอบบัญชีระดับ big four ของโลก (บริษัท Deloitte Touche Tohmatsu) เข้าไปทำ forensic investigation จนสามารถเปิดโปงหลักฐานที่ชัดเจน ของขบวนการโกงปาล์มอินโดฯ กระทั่งส่งสำนวนให้ ป.ป.ชไต่สวนต่อได้สำเร็จ แต่ส่งไปนานถึง 4 ปี คดียังไม่คืบหน้า สำหรับคดี "ปาล์มอินโดฯ" เป็นกรณีของ บริษัท พีทีที กรีนเอเนอร์ยี่ฯ หรือ PTT.GE. บริษัทลูกของ ปตท. ถูกกล่าวหาว่าลงทุนปลูกปาล์มน้ำมันที่ประเทศอินโดนีเซีย แต่พบความไม่ชอบมาพากลในการลงทุน และมีการจ่ายค่านายหน้าแพงเกินจริงกว่า 32 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา นอกจากนั้น ศ.พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ ยังมีส่วนสำคัญในการร่วมมือกับประธานตรวจสอบ บริษัทโกลบอลกรีนเคมิคอล จำกัด (มหาชน) หรือ GGC จนสามารถเปิดโปงขบวนการโกงทั้งระหว่างบริษัทในเครือ ปตท. ด้วยกันเอง และโยงใยสู่เครือข่ายภายนอก จากกรณีสต๊อกน้ำมันปาล์มในคลังคู่ค้าสูญหาย ส่อว่าจะเป็น "สต็อกลม" ซึ่งขณะนี้กำลังอยู่ในกระบวนการดำเนินคดีทั้งแพ่งและอาญากับผู้เกี่ยวข้อง สำหรับ ศ.พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ มีประวัติการทำงานเป็นที่ยอมรับในเรื่อง "มือสะอาด" และความตรงไปตรงมา อีกทั้ง ในอดีตเคยเป็นอัยการ และข้ามฟากมาเป็นผู้บริหารกระทรวงยุติธรรม เป็นอธิบดีหลายกรม ก่อนขึ้นเป็นปลัดกระทรวงยุติธรรม ดำรงตำแหน่งยาวนานหลายปี นอกจากนี้ เคยมีบทบาทมากในคณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) ที่มี ดร.คณิต ณ นคร เป็นประธาน โดยช่วงหลัง ศ.พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ มาบุกงานที่สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย หรือ TIJ เน้นการทำงานร่วมกับต่างประเทศและสหประชาชาติ ขณะเดียวกัน ศ.พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ ยังปรากฏชื่อเป็นแคนดิเดต "นายกฯคนกลาง" แทบทุกครั้งที่มีวิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย ฉะนั้นการลาออกจาก ปตท. แบบ "ฟ้าผ่า" ครั้งนี้ จึงทำให้หลายฝ่ายตั้งคำถาม ว่ากำลังเกิดอะไรขึ้นใน ปตท.
    ไม่ระบุชื่อ
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    หนังสือเวียนครับพี่น้องแล้วต้องส่งต่อ ไม่ส่งต่อแล้วระบอบทักษิณยังเกาะกินเรื้อรัง ข้อมูลนี้เป็นข้อมูลที่หลายคนคงยังไม่รู้ อ่านเสร็จแล้วโปรดส่งต่อ เพื่อเปิดโปงออกไปให้มากที่สุด..... ขอบคุณ อจ.ประพจน์ ท่ีส่งเนื้อความนี้มาแชร์ คล้ายมีทิศทางเดียวกับเนื้อความนี้: "ถาม...ทำไมวงจรอุบาทว์อาจหมุนกลับมาได้อีก" "คำตอบอยู่ข้างล่างนี้ ซึ่งเป็นสาเหตุส่วนหนึ่ง" ๑. ตระกูลชิน ยึดองคาพยพ รัฐวิสาหกิจเบ็ดเสร็จ ขุมสมบัติหลาย แสนล้านของชาติ ได้ถูกแบ่งขายครั้งแรกในน้ำมือรัฐบาลพี่ชาย น.ส.ยิ่งลักษณ์ คือ ปตท. และหากมูลนิธิคุ้มครองผู้บริโภค ไม...่ร้องต่อศาลปกครอง กรณีพ.ต.ท.ทักษิณ......... " เตรียมขาย กฟผ. " จนศาลปกครองสูงสุด มีคำพิพากษา........ เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2549 ให้เพิกถอนพระราชกฤษฎีกากำหนดอำนาจสิทธิ และประโยชน์ของบริษัท กฟผ.จำกัด (มหาชน) พ.ศ.2548 และหากพี่ชาย น.ส.ยิ่งลักษณ์ ยังอยู่ในอำนาจป่านนี้สมบัติชาติคงถูกขายกินหมดแล้ว ๒. กระนั้นก็ตาม เมื่อมาถึงยุค น.ส.ยิ่งลักษณ์เรืองอำนาจ ก็เข้ามาทำพฤติกรรมเดิมๆ สูบกินรัฐวิสาหกิจอีกครั้งภายใต้ระบบโครงสร้างความเป็นกรรมการรัฐวิสาหกิจ ก็ได้ค่าเบี้ยประชุม โบนัส และเงินตอบแทน ตลอดจนการจัดซื้อจัดจ้าง จากงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ ที่ระดับและอำนาจการตรวจสอบจะอ่อนด้อยกว่่า กระทรวง กรมต่างๆ ซ้ำร้ายกว่านั้น รัฐวิสาหกิจ ที่แปรรูปเป็นเอกชน ผลตอบแทนกรรมการ ตลอดจนการตรวจสอบจากรัฐในการบริหารงบลงทุนต่างๆ และการสนองตอบนโยบายสาธารณะ ก็ยิ่งน้อยลง ยกตัวอย่าง ปตท.ที่แปรรูปไป ยังเล่นแร่แปรธาตุดูดกินด้วย การถ่ายโอนผลประโยชน์ ทรัพย์สิน การลงทุนผ่านบริษัทลูกปตท. ที่อยู่นอกเขตการตรวจสอบภายใต้อำนาจรัฐออกไปเรื่อยๆ เงินไหลออกไป บริษัทลูก ทำให้บริษัทแม่ผลประกอบการไม่ดี แต่การตรวจสอบบริษัทลูกหรือบริษัทที่ ปตท.ร่วมทุน กลับยิ่งยากขึ้น และมาวันนี้ ยุคน้องสาว พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ก็มีพฤติกรรมไม่ต่างกัน แต่คราวนี้ขยายวงกว้างกว่ามาก เกือบจะทุกรัฐวิสาหกิจ ทั้งด้านพลังงานสาธารณูปโภคและธนาคาร ที่เริ่มด้วย (1) การตั้งคนในธุรกิจตนเองมาเป็นกรรมการหวังกระทำบางอย่างหรือไม่ นอกจากนี้ยังต่างตอบแทนผู้ภักดีกล้าหาญด้วย (2) การแก้ไขกฎหมาย พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานสำหรับ_กรรมการและพนักงาน รัฐวิสาหกิจ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....ให้คุณสมบัติต่ำลงและมีการเปิดช่องให้ผู้มาดำรงตำแหน่งมีผลประโยชน์ทับซ้อนได้ แล้วแต่ รมว.คลัง จะพิจารณายกเว้น และ (3) การรวบเอาที่ดินของรัฐวิสาหกิจมาจัดสรรเองใหม่ พร้อมหลักฐานการจัดตั้งองค์กรใหม่มาจัดการเรื่องนี้โดยเฉพาะ โดย (1) ตั้งคนใกล้ชิดเป็นกรรมการเกรดเอ รายชื่อต่อไปนี้ (อย่าได้ปฏิเสธว่าไม่ได้เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ธุรกิจครอบครัวชินวัตร) - การท่าเรือแห่งประเทศไทย มีพล.ร.อ.เกียรติศักดิ์ ดามาพงศ์ พี่ชายต่างมารดาของคุณหญิง พจมาน ชินวัตร เป็นกรรมการและมีน้องรักพ.ต.ท.ทักษิณ อย่างพล.ต.ท. คำรณวิทย์ ธูปกระจ่าง ผู้บัญชาการตำรวจนครบาลเป็นประธานกรรมการ - การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ตั้งนายยงสิทธิ์ โรจน์ศรีกุล รองกก.ผู้อำนวยการบริษัท ไทยคม จำกัด(มหาชน) และนายสุนทร ทรัพย์ตันติกุล ทนายความพ.ต.ท. ทักษิณ เป็นกรรมการไปคุมคณะกรรมการนโยบายอวกาศแห่งชาติ ก็ตั้ง ดร.นงลักษณ์ พินัยนิติศาสตร์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ด้านการตลาด บมจ.ไทยคม ธุรกิจครอบครัวน.ส.ยิ่งลักษณ์ เป็นประธานคณะกรรมการ - บริษัทท่าอากาศยานไทย จำกัด ขุมสมบัติอีกแห่งที่ตั้ง น.ต.ศิธา ทิวารี อดีต สส.ไทยรักไทย และเพื่อนสนิทพานทองแท้ ไปเป็นประธานกรรมการ ส่วนนายธานินทร์ อังสุวรังษี กรรมการอิสระ มาจากผู้บริหารบริษัทแคปปิตอลโอเค และบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่นส์ จำกัด (มหาชน) ลูกน้องธุรกิจครอบครัว น.ส.ยิ่งลักษณ์และยังได้เป็น กก.ผู้จัดการ ธนาคารอิสลามฯ ก่อนจะมีคดี แล้วต้องเปลี่ยนตัวไม่นานนี้ - นอกจากนี้ยังตั้ง นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์ อัยการอาวุโสเป็นกรรมการ แต่พอไปดู เหตุใดน.ส.ยิ่งลักษณ์ ถึงใจป้ำตั้งนายธนพิชญ์ เป็น กรรมการรัฐวิสาหกิจ 3 แห่ง ได้แก่ บ.ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน), บ. ขนส่ง จำกัด และการท่าเรือแห่งประเทศไทย ได้รับค่าตอบแทนรวมทั้งหมด 1,348,825.81 บาท อัยการอาวุโสท่านนี้มีประวัติอย่างไร เป็นอัยการที่รับผิดชอบคดีทุจริต จัดซื้อเครื่องซีทีเอ็กซ์ ที่ไม่ยอมสั่งฟ้อง พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกฯและพวกรวม 25 คน ในคดีซีทีเอ็กซ์ และสั่งไม่ฟ้องคดี การอนุมัติเงินกู้ธนาคารกรุงไทย ให้ บริษัทเอกชน เช่น กลุ่มเครือกฤษดามหานคร วงเงินหลายร้อยล้านบาท ทั้งที่คตส.และป.ป.ช.ตั้งข้อหา นี่หรือไม่คือสาเหตุ -ขณะที่นายวัฒนา เตียงกูล ทนายความพรรคเพื่อไทย ก็เปลี่ยนเป็นมารับเงินเดือนในบอร์ดทอท. แทน - ในขณะที่ปตท.นอกจากจะตั้ง เบญจา หลุยเจริญ ที่ช่วยให้คดีขายหุ้นชินคอร์ป ไม่ต้องเสียภาษีสมัยเป็นรองอธิบดีกรมสรรพากร ก่อนไปเป็นประธานกรุงไทย และเป็น รมช.คลัง - ก็ยังตั้ง อัยการคนเก่งอย่างนาย จุลสิงห์ วสันตสิงห์ ผู้สั่งไม่ฟ้องคดีเลี่ยงภาษีของครอบครัวชินวัตร - ในเหตุผลเดียวกัน ก็ยังพ่วงนายสีหศักดิ์ พวงเกตุแก้ว ผู้เร่งดำเนินการคืนพาสปอร์ตให้ พ.ต.ท.ทักษิณได้เป็นกรรมการ - แต่ก็ยังไม่น่าสนใจเท่าการส่งนาย วรุณเทพ วัชราภรณ์ ผู้บริหาร บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ฯ จำกัด (มหาชน) ลูกน้องตนเองในธุรกิจครอบครัว มานั่งกุมขุมทรัพย์ที่ปตท. ส่วนบริษัทลูกของปตท. อย่าง บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด ก็มีคำสั่งให้ นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล ทนายความไทยรักไทย ไปคุม คณะกรรมการสลากกินแบ่งรับาล นายวีรภัทร ศรีไชยา ทนายความ พ.ต.ท.ทักษิณในคดีเลี่ยงภาษี 1.2 หมื่นล้านบาท ของพานทองแท้ และพินทองทา ชินวัตร และเป็นทนายความพรรคเพื่อไทย ที่ยื่นคำร้องขอให้ตุลาการทั้ง 8 คน เพิกถอนมติรับคำร้องและคำสั่งที่ให้รัฐสภารอการดำเนินการลงมติวาระ 3 ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญมาตรา 68 และ ตั้ง พล.ต.ต.สุรสิทธิ์ สังขพงศ์ เพื่อนสนิท พ.ต.ท.ทักษิณ - ที่น่าตะลึงพึงเพริดคือ การตั้ง พล.ต.ต.อรรถกฤษณ์ ธารีฉัตร อดีตหัวหน้าชุดรักษาความปลอดภัยของ พ.ต.ท.ทักษิณ เป็นกรรมการและผู้อำนวยการกองสลาก ถามว่า หน่วยงานนี้ พ.ต.ท.ทักษิณ เป็นเจ้าของหรือ ?? ธนาคารกรุงไทย ที่นอกจากจะตั้ง นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์ เป็นกรรมการแล้ว ยังตั้งลูกน้องในเครือชินคอร์ป อย่าง นางอรุณภรณ์ ลิ่มสกุล ที่ใครๆก็รู้ว่าคือ ผู้บริหาร บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) และ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ ที่มีอีกตำแหน่งในฐานะ กรรมการ บมจ.ชิน คอร์ปอเรชั่น - ธนาคารออมสิน นอกจากจะตั้ง ดร.นงลักษณ์ พินัยนิติศาสตร์ ผู้บริหารระดับสูง ไทยคม อย่างที่กล่าวแล้ว ยังตั้งนายชัยธวัช เสาวพนธ์ กรรมการบริษัท วินโคสท์อินดัสเทรียล พาร์ค จำกัด (มหาชน) ให้ไปเป็นกรรมการออมสินเพื่อหวังทำอะไร - องค์การเภสัชกรรมเหตุใด จึงตั้งเอานายสมชัย โกวิทเจริญกุล พี่เขยนายกฯเอง (สามี นางมณฑาทิพย์ โกวิทเจริญกุล (ชินวัตร) กรรมการ และ ผู้ถือหุ้น บริษัท เอ็มลิ้งค์ เอเชีย คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ธุรกิจในครอบครัว น.ส.ยิ่งลักษณ์ - แต่ที่น่าสนใจคือ นายสมชัย โกวิทเจริญกุล คือ ผู้ถือหุ้นในบริษัท ฮัวถอ (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งประกอบธุรกิจนำเข้าอุปกรณ์การแพทย์ จากประเทศจีน จึงน่าคิดว่าตั้งให้เข้าไปทำอะไรในองค์การเภสัชกรรม ?? - การประปานครหลวง ตั้ง นายเอกราช ช่างเหลา ที่เคยถูกศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) สั่งอายัดเงิน และ การทำธุรกรรมการเงินในช่วงชุมนุมคนเสื้อแดงปี 2553 เนื่องจากศอฉ.เชื่อว่า เป็นท่อน้ำเลี้ยงกลุ่มคนเสื้อแดง เพราะพบเงินหมุนเวียนในบัญชีร่วม 1,200 ล้านบาท - ขณะที่การประปาส่วนภูมิภาค ตั้ง พ.ต.ท.ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์ แกนนำนปช.และกลุ่มคนเสื้อแดงผู้ถูกออกหมายจับในคดีก่อความวุ่นวายปี’53 ไปนั่งคุม - นอกจากนี้ยังตั้ง นางอัมพร นิติสิริ ที่เป็นภรรยา ของ นายชัยเกษม นิติสิริ รมว.ยุติธรรม ไปเป็นกรรมการคุมการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ทั้งหมดกระทำภายใต้อำนาจ น.ส.ยิ่งลักษณ์เองโดยตรง ในฐานะประธานคณะกรรมการกำกับนโยบายด้านรัฐวิสาหกิจ (กนร.) ประธานคณะกรรมการนโยบายทุนรัฐวิสาหกิจ (กนท.) - และล่าสุดประธานคณะกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ แม้จะมอบให้ใครดูแล แต่ด้วยตามกฎหมายการกำกับรัฐวิสาหกิจทุกฉบับ ก็สั่งให้มาเคาะครั้งสุดท้ายบนโต๊ะครม.ที่น.ส.ยิ่งลักษณ์ ผู้บริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพย์นั่งที่หัวโต๊ะ ขณะที่ การกระทำตาม (2) การแก้ไขกฎหมาย พ.ร.บ.คุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจฯ และ. 3) การจัดตั้งองค์กรใหม่มาจัดการเรื่อง อสังหาริมทรัพย์รัฐวิสาหกิจ นั้นจะได้กล่าวเจาะในตอนต่อไป หมดประเทศหรือยัง..........? เขาเป็นเจ้าของประเทศหรือ ? คุณ.....ยินยอม.....หรือ......? ลุกขึ้นเถิด...พี่น้องไทย.... อย่าให้....ชีวิตสูญเปล่า.... รักชาติ....แผ่นดินของเรา.. เหมือนดังพงศ์เผ่า......... ต้นตระกูลไทย........... ! .................. อ่านจบก็เข้าใจได้หรือยังครับ ว่าทำไมจึงต้องมีขบวนการ "ล้ม เจ้า"..เพื่อเข้ายึด "อำนาจใหม่"..ล้มล้างเจ้าทิ้งไป แล้ว เข้ายึดครองสร้างอำนาจใหม่ ภายใต้ระบบ "ประธานาธิบดี" ผู้มีอำนาจสูงสุด (ทีนี้ล่ะ..ได้สิ้นชาติทันตาเห็น) ...ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ก็จะต้องตกไปสู่มือของผู้มีอำนาจใหม่ที่จะทำเพื่อพวกพ้องและบริวาลตนเท่านั้น ประวัติศาสตร์กษัตริย์นักรบ ก็จะหายไปสิ้น เหลือแต่ประวัติใหม่ของโจรปล้นบัลลังก์ ที่นั่งเทียนเขียนอุปโหลกเรื่องดีให้เลวร้าย เรื่องเลวร้ายที่พวกมันทำฉิบหาย ให้ดูดี ตื่นนะ..พี่น้องไทย อย่าปล่อยให้ไฟไหม้ประเทศ กษัตริย์..ทำให้ชาติ นักการเมือง..ทำให้โคตร ของพวกมัน เปิดโปง ออกไปให้มากที่สุด.....หนังสือเวียนครับพี่น้องแล้วต้องส่งต่อ ไม่ส่งต่อแล้วระบอบทักษิณยังเกาะกินเรื้อรัง ข้อมูลนี้เป็นข้อมูลที่หลายคนคงยังไม่รู้ อ่านเสร็จแล้วโปรดส่งต่อ เพื่อเปิดโปงออกไปให้มากที่สุด..... ขอบคุณ อจ.ประพจน์ ท่ีส่งเนื้อความนี้มาแชร์ คล้ายมีทิศทางเดียวกับเนื้อความนี้: "ถาม...ทำไมวงจรอุบาทว์อาจหมุนกลับมาได้อีก" "คำตอบอยู่ข้างล่างนี้ ซึ่งเป็นสาเหตุส่วนหนึ่ง" ๑. ตระกูลชิน ยึดองคาพยพ รัฐวิสาหกิจเบ็ดเสร็จ ขุมสมบัติหลาย แสนล้านของชาติ ได้ถูกแบ่งขายครั้งแรกในน้ำมือรัฐบาลพี่ชาย น.ส.ยิ่งลักษณ์ คือ ปตท. และหากมูลนิธิคุ้มครองผู้บริโภค ไม...่ร้องต่อศาลปกครอง กรณีพ.ต.ท.ทักษิณ......... " เตรียมขาย กฟผ. " จนศาลปกครองสูงสุด มีคำพิพากษา........ เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2549 ให้เพิกถอนพระราชกฤษฎีกากำหนดอำนาจสิทธิ และประโยชน์ของบริษัท กฟผ.จำกัด (มหาชน) พ.ศ.2548 และหากพี่ชาย น.ส.ยิ่งลักษณ์ ยังอยู่ในอำนาจป่านนี้สมบัติชาติคงถูกขายกินหมดแล้ว ๒. กระนั้นก็ตาม เมื่อมาถึงยุค น.ส.ยิ่งลักษณ์เรืองอำนาจ ก็เข้ามาทำพฤติกรรมเดิมๆ สูบกินรัฐวิสาหกิจอีกครั้งภายใต้ระบบโครงสร้างความเป็นกรรมการรัฐวิสาหกิจ ก็ได้ค่าเบี้ยประชุม โบนัส และเงินตอบแทน ตลอดจนการจัดซื้อจัดจ้าง จากงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ ที่ระดับและอำนาจการตรวจสอบจะอ่อนด้อยกว่่า กระทรวง กรมต่างๆ ซ้ำร้ายกว่านั้น รัฐวิสาหกิจ ที่แปรรูปเป็นเอกชน ผลตอบแทนกรรมการ ตลอดจนการตรวจสอบจากรัฐในการบริหารงบลงทุนต่างๆ และการสนองตอบนโยบายสาธารณะ ก็ยิ่งน้อยลง ยกตัวอย่าง ปตท.ที่แปรรูปไป ยังเล่นแร่แปรธาตุดูดกินด้วย การถ่ายโอนผลประโยชน์ ทรัพย์สิน การลงทุนผ่านบริษัทลูกปตท. ที่อยู่นอกเขตการตรวจสอบภายใต้อำนาจรัฐออกไปเรื่อยๆ เงินไหลออกไป บริษัทลูก ทำให้บริษัทแม่ผลประกอบการไม่ดี แต่การตรวจสอบบริษัทลูกหรือบริษัทที่ ปตท.ร่วมทุน กลับยิ่งยากขึ้น และมาวันนี้ ยุคน้องสาว พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ก็มีพฤติกรรมไม่ต่างกัน แต่คราวนี้ขยายวงกว้างกว่ามาก เกือบจะทุกรัฐวิสาหกิจ ทั้งด้านพลังงานสาธารณูปโภคและธนาคาร ที่เริ่มด้วย (1) การตั้งคนในธุรกิจตนเองมาเป็นกรรมการหวังกระทำบางอย่างหรือไม่ นอกจากนี้ยังต่างตอบแทนผู้ภักดีกล้าหาญด้วย (2) การแก้ไขกฎหมาย พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานสำหรับ_กรรมการและพนักงาน รัฐวิสาหกิจ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....ให้คุณสมบัติต่ำลงและมีการเปิดช่องให้ผู้มาดำรงตำแหน่งมีผลประโยชน์ทับซ้อนได้ แล้วแต่ รมว.คลัง จะพิจารณายกเว้น
    ไม่ระบุชื่อ
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เชิญชวนร่วมลงทุนธุรกิจก่อสร้าง
    จากที่มีการปรากฏข้อมูลบนสื่อออนไลน์เรื่องตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เชิญชวนร่วมลงทุนธุรกิจก่อสร้าง ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พบว่าเพจดังกล่าว เป็นข้อมูลเท็จ
    Nuttachai Nutapao
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false