1 คนสงสัย
การไม่ดื่มน้ำเปล่า อันตรายต่อสุขภาพอย่างรุนแรง จริงหรือ
การไม่ดื่มน้ำเปล่า อันตรายต่อสุขภาพอย่างรุนแรง จริงหรือ
Mrs.Doubt
 •  2 ปีที่แล้ว
meter: true
1 ความเห็น
ช่วยระบุหมวดหมู่ของข้อความนี้ให้หน่อย
เลือกให้น้อยที่สุด (ถ้าเป็นไปได้)
Thanathun. เลือกให้ข้อความนี้✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด

เหตุผล

การดื่มน้ำน้อยไม่เพียงทำให้ร่างกายขาดน้ำและรู้สึกอ่อนเพลียไม่สดชื่นเท่านั้น แต่ยังส่งผลเสียร้ายแรงต่อสุขภาพของคุณอีกด้วยเราจึงมี 5 โรคร้ายที

ที่มา

https://www.vibhavadi.com/Health-expert/detail/242

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือไม่? "ดื่มน้ำอัดลมมาก เสี่ยงฟันผุ"
    จริงหรือไม่? "ดื่มน้ำอัดลมมาก เสี่ยงฟันผุ" กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้เตือนคนไทยดื่มน้ำอัดลมมาก จะส่งผลต่อสุขภาพช่องปาก เป็นต้นเหตุของการเกิดฟันสึกกร่อนมากที่สุด และเสี่ยงเกิดโรคฟันผุและโรคอ้วนตามมาได้ แนะนำควรดื่มน้ำเปล่าอย่างน้อย 8 แก้วต่อวัน ดีที่สุด พร้อมแปรงฟันด้วยสูตร 2-2-2 เพื่อสร้างสุขภาพช่องปากที่ดี นายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย กล่าวว่า การดื่มน้ำอัดลมเป็นประจำจะส่งผลเสียต่อร่างกาย ได้แก่ ฟันสึกกร่อน ฟันผุ อ้วน กระดูกพรุน และกระดูกเปราะ เนื่องจากน้ำหวานชนิดอัดลมมีกรดคาร์บอนิกค่อนข้างมาก ซึ่งสารดังกล่าวจะกีดขวางการดูดซึมแคลเซียมของกระดูก และยังเป็นอีกหนึ่งสาเหตุที่ทำให้น้ำหนักเพิ่มขึ้นได้ เพราะร่างกายจะหลั่งสารอินซูลินออกมามากเกินจำเป็น ซึ่งในระยะยาวร่างกายจะผลิตอินซูลินได้น้อยลง จนทำให้ร่างกายเกิดโรคเบาหวานโดยไม่รู้ตัว ซึ่งน้ำอัดลม 1 กระป๋อง (ขนาด 325 ซีซี) มีปริมาณน้ำตาล 8-12 ช้อนชา จะเท่ากับน้ำตาลในลูกอม จำนวน 17 เม็ด หากกินรวมกันหลายอย่างอาจทำให้ได้รับน้ำตาลมากเกินความต้องการของร่างกาย และเกินมาตรฐานที่องค์การอนามัยโลกกำหนดว่าร่างกายควรได้รับน้ำตาลไม่เกิน 24 กรัมต่อวัน หรือปริมาณ 6 ช้อนชา นายแพทย์สุวรรณชัย กล่าวต่อไปว่า น้ำอัดลมยังเป็นต้นเหตุที่ทำให้เกิดฟันสึกกร่อนได้มากที่สุด เพราะนอกจากน้ำอัดลมจะมีกรดคาร์บอนิกแล้ว ยังมีส่วนประกอบคือน้ำตาลกับน้ำ หากไม่มีการทำความสะอาดช่องปากและฟันจะก่อให้เกิดฟันผุได้ จากผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพประเทศไทยครั้งที่ 8 พ.ศ. 2560 พบว่า เด็กเล็กอายุ 5 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 75.6 เด็กวัยเรียนอายุ 12 ปี มีฟันแท้ผุ ร้อยละ 52.0 และกลุ่มอายุ 15 ปี มีฟันแท้ผุ ร้อยละ 62.7 สาเหตุหลักมาจากพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก และพฤติกรรมการบริโภคของเด็กที่นิยมกินอาหารหรือขนมที่หาซื้อได้ง่าย เช่น น้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ นอกจากจะทำให้เกิดปัญหาฟันผุแล้ว ยังก่อให้เกิดความเจ็บปวด การติดเชื้อและสร้างปัญหาการบดเคี้ยวอาหาร มีผลต่อน้ำหนัก การเจริญเติบโตและบุคลิกภาพ รวมถึงมีผลกระทบต่อการเรียนด้วย ที่สำคัญ ปัญหาฟันผุยังนำไปสู่การสูญเสียฟันที่เริ่มต้นในวัยเด็กและสะสมจนกลายเป็นการสูญเสียฟันทั้งปากจนไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ในวัยสูงอายุ ทั้งนี้ เครื่องดื่มที่ดีที่สุดและเหมาะสมกับร่างกายก็คือน้ำเปล่า เพราะในน้ำเปล่ามีส่วนช่วยให้ร่างกายสดชื่น เพิ่มการไหลเวียนของโลหิต ปรับสมดุลของร่างกาย ช่วยชะลอความแก่ เพิ่มความชุ่มชื่นแก่ผิว ช่วยให้ระบบย่อยในกระเพาะอาหารทำงานได้ดีขึ้น ช่วยขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย ไตแข็งแรง โดยใน 1 วัน ควรดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว เพื่อสุขภาพที่ดีและควรหลีกเลี่ยงอาหารชนิดอื่น ๆ ที่มีการเติมน้ำตาลอีกด้วย เช่น ขนมหวาน ลูกกวาด เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับน้ำตาลในแต่ละวันเกินจำเป็นจนก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพได้ นอกจากนี้ ควรแปรงฟันให้สะอาดทั่วถึงทั้งในตอนเช้า หลังอาหารกลางวัน และก่อนนอน ด้วยสูตร 2 2 2 คือ แปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ให้ทั่วทุกซี่ทุกด้านนานอย่างน้อย 2 นาที แปรงอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เช้าและก่อนนอน และไม่ควรกินอาหารหลังแปรงฟันอย่างน้อย 2 ชั่วโมง เพื่อให้เวลาช่องปากสะอาดนานที่สุด และยังเป็นการป้องกันโรคฟันผุในระยะยาวอีกด้วย ข้อมูล : ณ วันที่ 18 มิถุนายน 2564 ที่มา : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เครือข่าย : มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
    อีสานโคแฟค
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ตำรวจยืนยันว่าน้ำที่ฉีดสกัดผู้ชุมนุมวันที่ 8 พย. 63 เป็นน้ำเปล่า จริงหรือ
    พล.ต.ต.ปิยะ ต๊ะวิชัย รอง ผบช.น. ย้ำ การฉีดน้ำที่เกิดขึ้นเมื่อวาน เป็นการฉีดในแนวสูง ไม่ได้ฉีดปะทะแนวตัวผู้ชุมนุมโดยตรง น้ำที่นำมาฉีดเป็นน้ำเปล่าธรรมดา ไม่ได้ผสมสารเคมีใดๆ ทำไปตามระเบียบการสกัดกั้นการชุมนุม
    anonymous
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ลดน้ำหนัก ด้วยการนำน้ำเปล่ามาผสมน้ำมะนาว น้ำผึ้ง ขิง และว่านหางจระเข้ ได้ผลจริงหรือ
    สูตรน้ำดื่มช่วยละลายไขมัน ลดน้ำหนัก ด้วยการนำน้ำเปล่ามาผสมน้ำมะนาว น้ำผึ้ง ขิง และว่านหางจระเข้
    naydoitall
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false