เพิ่มคะแนนนิยมให้กับพรรค แต่ไม่เชื่อมีต่างชาติแทรกแซง
วันที่ 28 พฤษภาคม 2566 ศูนย์สำรวจความคิดเห็นนิด้าโพล สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลสำรวจของประชาชน เรื่อง “ข่าวลือหรือข่าวจริง ช่วงเลือกตั้ง 2566” ทำการสำรวจระหว่างวันที่ 18-22 พฤษภาคม 2566 จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป กระจายทุกภูมิภาค ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ทั่วประเทศ รวมทั้งสิ้น 1,310 หน่วยตัวอย่าง การสำรวจอาศัยการสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็นจากบัญชีรายชื่อฐานข้อมูลตัวอย่างหลัก (Master Sample) ของนิด้าโพล สุ่มตัวอย่างด้วยวิธีแบบง่าย เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ โดยกำหนดค่าความเชื่อมั่น ร้อยละ 97.0
เมื่อถามถึงความเชื่อของประชาชนต่อข่าวพรรคการเมือง มีการใช้ปฏิบัติการสร้างข่าว ปั่นกระแสผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อโจมตีพรรคการเมืองคู่แข่ง พบว่า ร้อยละ 31.22 ระบุว่า ค่อนข้างเชื่อ
ร้อยละ 25.27 ระบุว่า เชื่อมาก
ร้อยละ 23.59 ระบุว่า ไม่เชื่อเลย
ร้อยละ 19.31 ระบุว่า ไม่ค่อยเชื่อ
ร้อยละ 0.61 ระบุว่า ไม่ตอบ/ไม่สนใจ
ส่วนความเชื่อของประชาชนต่อข่าวพรรคการเมือง มีการใช้ปฏิบัติการสร้างข่าว ปั่นกระแสผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อเพิ่มคะแนนนิยมให้กับพรรคตนเอง พบว่า
ร้อยละ 30.08 ระบุว่า ค่อนข้างเชื่อ
ร้อยละ 27.40 ระบุว่า เชื่อมาก
ร้อยละ 22.06 ระบุว่า ไม่เชื่อเลย
ร้อยละ 19.54 ระบุว่า ไม่ค่อยเชื่อ
ร้อยละ 0.92 ระบุว่า ไม่ตอบ/ไม่สนใจ
สำหรับความเชื่อของประชาชนต่อข่าวการเลือกตั้งครั้งนี้ มีการแทรกแซงจากต่างชาติ พบว่า
ร้อยละ 56.56 ระบุว่า ไม่เชื่อเลย
ร้อยละ 22.21 ระบุว่า ไม่ค่อยเชื่อ
ร้อยละ 11.76 ระบุว่า ค่อนข้างเชื่อ
ร้อยละ 8.17 ระบุว่า เชื่อมาก
ร้อยละ 1.30 ระบุว่า ไม่ตอบ/ไม่สนใจ
ขณะที่คำถามถึงการได้ยินข่าวลือเกี่ยวกับการเลือกตั้งของประชาชน ในช่วง 6 สัปดาห์ของการหาเสียง พบว่า
ร้อยละ 30.92 ระบุว่า มากกว่า 20 ข่าว
ร้อยละ 22.29 ระบุว่า 1-5 ข่าว
ร้อยละ 16.26 ระบุว่า 6-10 ข่าว
ร้อยละ 13.66 ระบุว่า ไม่เคยได้ยินเลย
ร้อยละ 10.15 ระบุว่า 11-15 ข่าว
ร้อยละ 6.72 ระบุว่า 16-20 ข่าว
วันที่ 28 พฤษภาคม 2566 ศูนย์สำรวจความคิดเห็นนิด้าโพล สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลสำรวจของประชาชน เรื่อง “ข่าวลือหรือข่าวจริง ช่วงเลือกตั้ง 2566” ทำการสำรวจระหว่างวันที่ 18-22 พฤษภาคม 2566 จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป กระจายทุกภูมิภาค ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ทั่วประเทศ รวมทั้งสิ้น 1,310 หน่วยตัวอย่าง การสำรวจอาศัยการสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็นจากบัญชีรายชื่อฐานข้อมูลตัวอย่างหลัก (Master Sample) ของนิด้าโพล สุ่มตัวอย่างด้วยวิธีแบบง่าย เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ โดยกำหนดค่าความเชื่อมั่น ร้อยละ 97.0
เมื่อถามถึงความเชื่อของประชาชนต่อข่าวพรรคการเมือง มีการใช้ปฏิบัติการสร้างข่าว ปั่นกระแสผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อโจมตีพรรคการเมืองคู่แข่ง พบว่า ร้อยละ 31.22 ระบุว่า ค่อนข้างเชื่อ
ร้อยละ 25.27 ระบุว่า เชื่อมาก
ร้อยละ 23.59 ระบุว่า ไม่เชื่อเลย
ร้อยละ 19.31 ระบุว่า ไม่ค่อยเชื่อ
ร้อยละ 0.61 ระบุว่า ไม่ตอบ/ไม่สนใจ
ส่วนความเชื่อของประชาชนต่อข่าวพรรคการเมือง มีการใช้ปฏิบัติการสร้างข่าว ปั่นกระแสผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อเพิ่มคะแนนนิยมให้กับพรรคตนเอง พบว่า
ร้อยละ 30.08 ระบุว่า ค่อนข้างเชื่อ
ร้อยละ 27.40 ระบุว่า เชื่อมาก
ร้อยละ 22.06 ระบุว่า ไม่เชื่อเลย
ร้อยละ 19.54 ระบุว่า ไม่ค่อยเชื่อ
ร้อยละ 0.92 ระบุว่า ไม่ตอบ/ไม่สนใจ
สำหรับความเชื่อของประชาชนต่อข่าวการเลือกตั้งครั้งนี้ มีการแทรกแซงจากต่างชาติ พบว่า
ร้อยละ 56.56 ระบุว่า ไม่เชื่อเลย
ร้อยละ 22.21 ระบุว่า ไม่ค่อยเชื่อ
ร้อยละ 11.76 ระบุว่า ค่อนข้างเชื่อ
ร้อยละ 8.17 ระบุว่า เชื่อมาก
ร้อยละ 1.30 ระบุว่า ไม่ตอบ/ไม่สนใจ
ขณะที่คำถามถึงการได้ยินข่าวลือเกี่ยวกับการเลือกตั้งของประชาชน ในช่วง 6 สัปดาห์ของการหาเสียง พบว่า
ร้อยละ 30.92 ระบุว่า มากกว่า 20 ข่าว
ร้อยละ 22.29 ระบุว่า 1-5 ข่าว
ร้อยละ 16.26 ระบุว่า 6-10 ข่าว
ร้อยละ 13.66 ระบุว่า ไม่เคยได้ยินเลย
ร้อยละ 10.15 ระบุว่า 11-15 ข่าว
ร้อยละ 6.72 ระบุว่า 16-20 ข่าว
นิด้าโพล คนค่อนข้างเชื่อมีปั่นกระแสโจมตีพรรคคู่แข่ง แต่ไม่เชื่อต่างชาติแทรกแซง
https://www.thairath.co.th/news/politic/2697468ผลสำรวจนิด้าโพล กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ค่อนข้างเชื่อ มีการปั่นกระแสโจมตีพรรคคู่แข่ง-เพิ่มคะแนนนิยมให้กับพรรค แต่ไม่เชื่อมีต่างชาติแทรกแซงวันที่ 28 พฤษภาคม 2566 ศูนย์สำรวจความคิดเห็นนิด้าโพล สถาบันบัณฑิต