1 คนสงสัย
กินน้ํามะเขือเทศทุกวันทำให้ผิวขาวใส
admin
 •  5 ปีที่แล้ว
meter: false
1 ความเห็น
ช่วยระบุหมวดหมู่ของข้อความนี้ให้หน่อย
เลือกให้น้อยที่สุด (ถ้าเป็นไปได้)
admin เลือกให้ข้อความนี้❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง

เหตุผล

มีสาวๆ หลายคนหันมาดื่มน้ำมะเขือเทศสำเร็จรูป เพื่อเป็นตัวช่วยในการบำรุงผิวพรรณให้สว่างใส เปล่งปลั่ง ช่วยลดเลือนผิวหมองคล้ำ ซึ่งตอนนี้สามารถหา

ที่มา

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    คอลลาเจนทำให้ผิวขาวใสได้จริงหรือเปล่า?
    admin
     •  5 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    กินน้ำมะเขือเทศทุกวันจะทำให้ขาวจริงไหม
    การที่ผิวคนเราจะขาวขึ้นได้ ต้องเกิดจากการลดเม็ดสีเมลานีนในชั้นผิวหนังให้ได้เสียก่อน ในน้ำมะเขือเทศมี สารไลปีน ช่วยปกป้องคลอลาเจนในชั้นผิว เพราะคลอลาเจนมีส่วนช่วยให้ผิวพรรณเกิดความชุ่มชื้น ช่วยเสริมความเรียบตึงให้กับผิวหนัง และยังช่วยทำให้ผิวดูเรียบเนียนกระชับ เมื่อดื่มน้ำมะเขือเทศแล้ว สารไลโคปีนจะทำให้ ผิวเนียนละเอียด และสว่างกระจ่างใสขึ้น ดังนั้น น้ำมะเขือเทศ จึงเป็นตัวช่วยในเรื่อง ทำให้ผิวใส ไม่ได้ช่วยทำให้ผิวขาวแต่อย่างใดครับ
    M
     •  1 เดือนที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    คอลลาเจน ไร้มาตรฐาน ถ้ารับประทานมากๆ อาจไตวายได้ จริงหรือ
    ทีมข่าวสายตรวจระวังภัย ได้รับการร้องเรียนจากหญิงสาวหลายรายว่า ได้หาซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร "คอลลาเจน" มารับประทานเพราะหลงเชื่อคำโฆษณาที่เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ตว่าผลิตภัณฑ์ชนิดนี้เมื่อรับประทานแล้วทำให้ผิวขาวใส เป็นธรรมชาติ โดยเห็นผลทันทีในระยะเวลาไม่นาน แต่ปรากฏว่าเมื่อหาซื้อมารับประทานแล้วกลับไม่ได้ขาวจริงอย่างที่อ้าง อย. มีความเป็นห่วงว่า ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร "คอลลาเจน" ที่จำหน่ายอยู่นั้นอาจโฆษณาเกินจริง ใช้แล้วไม่ขาวจริง และจากการสำรวจพบว่าผลิตภัณฑ์ที่จำหน่ายอยู่ในท้องตลาดขณะนี้ถึง 90 เปอร์เซ็นต์ ยังไม่ได้ขออนุญาต และหากรับประทานเข้าไปจำนวนมากจะส่งผลกระทบต่อระบบการทำงานของไตจนอาจทำให้เกิดอาการไตวายได้ จริงหรือ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ผลิตภัณฑ์กลูต้าไธโอนรับประทาน2อาทิตย์กระจ่างใสขึ้นจริงหรือไม่?
    ผลิตภัณฑ์กลูต้าไธโอนรับประทาน 2 อาทิตย์กระจ่างใส จริงหรือไม่? จากประเด็นที่เป็นข้อถกเถียงกันบนโลกออนไลน์ว่า การรับประทานผลิตภัณฑ์กลูต้าไธโอนสามารถทำให้ผิวขาวกระจ่างใสขึ้นจริงหรือไม่ รศ. พญ.เพ็ญพรรณ วัฒนไกร แพทย์ประจําหน่วยโรคผิวหนัง ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ได้มีการให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์กลูต้าไธโอนว่า กลูต้าไธโอนเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่เซลล์ในร่างกายมนุษย์สามารถสังเคราะห์ได้เอง มีคุณสมบัติเป็นโปรตีนชนิดหนึ่ง ทำหน้าที่ในการปกป้องเนื้อเยื่อไม่ให้ถูกทำลายโดยสารอนุมูลอิสระที่สะสมอยู่ตามส่วนต่างๆของร่างกาย กระตุ้นภูมิคุ้มกันของร่างกาย และที่สำคัญยังช่วยตับในการทำลายและขจัดสารพิษออกจากร่างกาย (ข้อมูลจากเว็บไซต์ www.rama.mahidol.ac.th ) ในทางการแพทย์พบว่ามีการนำกลูต้าไธโอนมาทดลองใช้ในการรักษาโรคต่างๆ แต่ยังไม่ได้รับการ อนุมัติข้อบ่งใช้จากองค์การอาหารและยา เช่น ภาวะเป็นหมันในเพศชาย ปลายเส้นประสาทอักเสบ มะเร็ง กระเพาะอาหาร หรือมะเร็งต่อมลูกหมาก วิธีการรักษามักทำโดยการฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำหรือเข้าที่ กล้ามเนื้อ ผลข้างเคียงอย่างหนึ่ง คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการฉีดกลูต้าไธโอนนั้นมีสีผิวที่ขาวขึ้น เนื่องมาจากกลูต้าไธโอนสามารถยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส (tyrosinase) ได้ และส่งผลให้เม็ดสีของผิวหนัง เปลี่ยนจากเม็ดสีน้ำตาลดำเป็นเม็ดสีชมพูขาว ด้วยเหตุนี้เองจึงมีผู้พยายามนำผลข้างเคียงของยามาใช้ในการทำ ให้ผิวขาวขึ้น ซึ่งนับได้ว่าเป็นการนำยามาใช้ในทางที่ผิดอีกรูปแบบหนึ่ง โดยในปัจจุบันยังไม่มีการศึกษาที่ น่าเชื่อถือยืนยันหรือรับรองประสิทธิภาพและประโยชน์ของกลูต้าไธโอนในการทำให้ผิวขาวได้อย่างแท้จริง (ข้อมูลจากเว็บไซต์https://pharmacy.mahidol.ac.th/dic/) ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าผิวที่ขาวขึ้นจากกลูต้าไธโอนนั้นยังอยู่ได้เพียงชั่วคราวเท่านั้น หากต้องการให้ผลอยู่ในระยะยาวจำเป็นต้องทานซ้ำเป็นระยะๆ ทำให้ยาสะสมในร่างกายมากขึ้น และอาจมีความเป็นพิษต่อตับ รวมถึงอาจก่อให้เกิดอันตรายในระยะยาวได้ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของ กลูตาไธโอนชนิดฉีดหรือชนิดรับประทานเพื่อให้ผิวขาวใสนั้นยังไม่มีการพิสูจน์ผลที่ชัดเจน ความปลอดภัยในการใช้ยาจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึง และพึงระลึกไว้เสมอว่า “ ไม่มียาชนิดใดในโลกที่ปลอดภัยร้อยเปอร์เซนต์ ” ดังนั้นก่อนการใช้ยาใดๆ ก็ตามควรศึกษาข้อมูลปรึกษาเภสัชกร ก่อนรับประทานให้ละเอียดเสียก่อนเพื่อความปลอดภัยของตนเอง ( ข้อมูลจากเว็บไซต์ https://hdmall.co.th/  )
    satit1302
     •  3 เดือนที่แล้ว
    meter: false