คือ ข้อเขียนที่อ้างว่าเป็นทั้งวิทยาศาสตร์และข้อเท็จจริง แต่จริง ๆ แล้วขัดแย้งหรือเข้ากันไม่ได้กับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือไม่มีหลักฐานหรือความเป็นไปได้ใด ๆมาสนับสนุน มักจะมาในรูปแบบของบทความทางการแพทย์หรือบทความสุขภาพที่แฝงโฆษณายารักษาหรือ อุปกรณ์เพื่อสุขภาพ โดยแอบอ้างว่าได้ผ่านการวิจัยทางวิทยาศาสตร์แล้ว มีการสร้างภาพผู้เชี่ยวชาญขึ้นมา
10 ประเภทข่าวปลอมที่ควรรู้!!
https://resourcecenter.thaihealth.or.th/interesting-issues/10-%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89-ข่าวปลอมมากมาย ที่เผยแพร่ออกไปสร้างความบิดเบือน ความเข้าใจผิด และความตื่นตระหนักให้แก่ประชาชนทั่วไปนั้น เราสามารถจำแนกกว้างๆได้ถึง 10 ประเภทด้วยกันเลยนะคะ แล้วแต่ละประเภททำขึ้นมาเพื่ออะไร? มีเจตนาแอบ