1 คนสงสัย
ยาเขียวตราใบโพธิ์ ป้องกันไวรัสโควิด-19 ได้จริงหรือ?
ยาเขียวตราใบโพธิ์ ป้องกันไวรัสโควิด-19 ได้จริงหรือ?
.
ได้รับข่าวจากชาวบ้านที่อยู่ในหมู่บ้านสวาย ตำบลสวาย อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ โดยวิธีการสัมภาษณ์ให้เล่าเรื่องยาเขียวตราใบโพธิ์ สามารถป้องกันเชื้อไวรัสโควิด – 19 (ให้ข้อมูลเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2564)
.
จึงทำการตรวจสอบข้อมูลข้อเท็จจริงจากเว็บไซต์
https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/156 ยาเขียวซึ่งไม่พบว่าการรับประทานยาเขียวตราใบโพธิ์สามารถป้องกันเชื้อไวรัสโควิด -19 ได้
.
จากการสัมภาษณ์นางสาวสุวรรณา ชะฏาทอง ชาวบ้านในหมู่บ้านสวาย ตำบลสวาย อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ ปรากฏว่าไม่เคยเชื่อว่ายาเขียวตราใบโพธิ์สามารถป้องกันเชื้อไวรัส โควิด-19 ได้ (ข้อมูลเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2564 )และจากการสัมภาษณ์นายอนุวรรตน์ แสงแพ็ง นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษที่เป็นเยาวชนในหมู่บ้าน ปรากฏว่าเคยได้ยินข่าวนี้มานาน แต่ก็ไม่ได้เชื่อว่ายาเขียวตราใบโพธิ์สามารถป้องกันเชื้อไวรัสโควิด-19 ได้ (ข้อมูลเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2564)
.
ดังนั้นยาเขียวตราใบโพธิ์ ป้องกันไวรัสโควิด-19 ได้จริงหรือ? ไม่สามารถป้องกันเชื้อไวรัสโควิด-19 ได้ เพราะว่า สรรพคุณที่แท้จริงของยาเขียวตราใบโพธิ์ คือ แก้ร้อนใน กระหายน้ำ เป็นไข้ ปวดหัวตัวร้อน ถอนพิษไข้หรืออกหัดอิสุกอิใส ไม่ได้มีสรรพคุณในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโควิด-19 แต่อย่างใด
.
เครือข่าย : มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
อีสานโคแฟค
 •  2 ปีที่แล้ว
meter: false
1 ความเห็น

ยาสมุนไพร

thanathun เลือกให้ข้อความนี้❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง

เหตุผล

ห้างขายยาตราใบห่อ baihor โพสต์เฟซบุ๊ก ระบุช่วงนี้มีข่าวลือเผยแพร่ว่า ยาเขียวและยาขมสามารถรักษาโรคจากไวรัสโควิดได้ และมีการพาดพิงมาถึงผลิตภัณ

ที่มา

https://tna.mcot.net/social-615413

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    สเปรย์พ่นปากฟ้าทะลายโจร ตราวี เฟรช สามารถป้องกันเชื้อไวรัสโควิด-19 ลงปอดได้
    ผลิตภัณฑ์วี เฟรช เม้าท์ สเปรย์ โฆษณาสรรพคุณของผลิตภัณฑ์ว่า สามารถป้องกันเชื้อไวรัสโควิด-19 ลงปอดได้นั้น ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบและชี้แจงว่า ผลิตภัณฑ์วี เฟรช เม้าท์ สเปรย์ V FRESH MOUTH SPRAY ผลิตโดย บ. บิวตี้ คอสเมต จก. จดแจ้งไว้ว่าเป็นเครื่องสำอาง ประเภทสเปรย์ระงับกลิ่นปาก ใบรับจดแจ้งเลขที่ 65-1-6400022581 ผลิตภัณฑ์นี้เป็นเครื่องสำอาง ใช้เพื่อระงับกลิ่นปาก ไม่มีผลในการป้องกันเชื้อไวรัสโควิด-19 ลงปอดได้ หากผู้บริโภคหลงเชื่อซื้อผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมาใช้ เพื่อหวังผลในการป้องกันเชื้อไวรัสโควิด-19 ลงปอด อาจเสียโอกาสในการรักษา ควรไปพบแพทย์เพื่อรับการวินิจฉัยและรับการรักษาที่ถูกต้อง
    std47859
     •  10 เดือนที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือ หน้ากากผ้า ป้องกันไวรัสโควิด-19 ไม่ได้
    หน้ากากอนามัยผ้าป้องกันโควิด-19ได้จริงหรือไม่? คงเป็นคำถามที่ใครหลาย ๆ คนอยากได้คำตอบ เนื่องจากในสถานการณ์ตอนนี้ ที่หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ขาดตลาด และคนหันมาใช้หน้ากากอนามัยแบบผ้าแทน จึงอาจเกิดความกังวลใจว่า หน้ากากอนามัยชนิดผ้า หรือ หน้ากากผ้า จะสามารถป้องกันโควิด-19ได้จริงไหม วันนี้ ALLWELL จะมาไขข้อข้องใจนี้ ให้กับทุกคนค่ะ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้ชี้แจงในเรื่องนี้ว่าหน้ากากผ้าสามารถป้องกันไวรัสโควิด-19 ได้ และแนะนำให้เป็นทางเลือกสำหรับประชาชนที่ไม่ป่วย และมีความเสี่ยงของการติดเชื้อน้อยกว่าบุคลากรทางการแพทย์ แต่ทั้งนี้ผ้าที่นำมาเย็บเป็นหน้ากากผ้า จะสามารถป้องกันเชื้อไวรัสโควิด-19ได้นั้น จะต้องมีคุณสมบัติสำคัญดังนี้ ป้องกันอนุภาคขนาดเล็กได้ ป้องกันการซึมผ่านของน้ำได้ สามารถนำไปซักทำความสะอาดได้หลายครั้ง
    pyu9
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    จริงหรือ ยาขม- ยาเขียวตราใบห่อ ช่วยรักษาโควิดได้
    กินยาเขียวตราใบห่อช่วยต้าน /รักษา ไวรัสโควิดได้
    naydoitall
     •  3 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    สเปรย์พ่นปากฟ้าทะลายโจร ตราวี เฟรช สามารถป้องกันเชื้อไวรัสโควิด-19 ลงปอดได้
    กรณีที่ผลิตภัณฑ์วี เฟรช เม้าท์ สเปรย์ โฆษณาสรรพคุณของผลิตภัณฑ์ว่า สามารถป้องกันเชื้อไวรัสโควิด-19 ลงปอดได้นั้น ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบและชี้แจงว่า ผลิตภัณฑ์วี เฟรช เม้าท์ สเปรย์ V FRESH MOUTH SPRAY ผลิตโดย บ. บิวตี้ คอสเมต จก. จดแจ้งไว้ว่าเป็นเครื่องสำอาง ประเภทสเปรย์ระงับกลิ่นปาก ใบรับจดแจ้งเลขที่ 65-1-6400022581 ผลิตภัณฑ์นี้เป็นเครื่องสำอาง ใช้เพื่อระงับกลิ่นปาก ไม่มีผลในการป้องกันเชื้อไวรัสโควิด-19 ลงปอดได้ หากผู้บริโภคหลงเชื่อซื้อผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมาใช้ เพื่อหวังผลในการป้องกันเชื้อไวรัสโควิด-19 ลงปอด อาจเสียโอกาสในการรักษา ควรไปพบแพทย์เพื่อรับการวินิจฉัยและรับการรักษาที่ถูกต้อง
    48048
     •  10 เดือนที่แล้ว
    meter: false