1 คนสงสัย
แชร์! เว็บฯ https://travelkub.com/ เปิดสินเชื่อรากฐาน ไม่ต้องค้ำประกัน โดย ธ. ออมสิน
กรณีที่มีการส่งต่อข่าวสารเรื่อง ธ. ออมสิน เปิดสินเชื่อรากฐานรอบใหม่ ให้ยืมสูงสุด 10,000-30,000 บาท ทุกอาชีพ ไม่ต้องค้ำประกัน ผ่านเว็บฯ https://travelkub.com/ ทางธนาคารออมสิน กระทรวงการคลัง ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า สินเชื่อดังกล่าว เป็นสินเชื่อห่วงใย (เพื่อสู้ภัย COVID-19) ผ่าน MyMo ซึ่งได้ครบระยะเวลาดำเนินโครงการแล้วเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2565 จึงขอแจ้งว่า ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลเท็จ ทั้งยังมีการแอบอ้างนำชื่อ และโลโก้ของธนาคารออมสินโฆษณาชวนเชื่อ

website 2435

ดังนั้นขอให้ประชาชนอย่าหลงเชื่อเพจดังกล่าว ที่มีการแอบอ้างชื่อของธนาคารในการชักชวนในลักษณะนี้ โดยสามารถติดตามข่าวสารจากสื่อช่องทางหลักของธนาคารออมสิน ได้ที่เว็บไซต์ www.gsb.or.th , แอปพลิเคชัน MyMo , Social Media ช่องทาง GSB Society และ GSB Now หรือ GSB Contact Center โทร. 1115 เท่านั้น

บทสรุปของเรื่องนี้คือ : ข้อมูลดังกล่าวเป็นสินเชื่อห่วงใย (เพื่อสู้ภัย COVID-19) ซึ่งครบระยะเวลาโครงการเมื่อวันที่ 30 ก.ย. 65 ทั้งยังมีการแอบอ้างนำชื่อ และโลโก้ของธนาคารออมสินโฆษณาชวนเชื่อโดยไม่ได้รับอนุญาต
fyjhfff
 •  1 ปีที่แล้ว
0 ความเห็น
ช่วยระบุหมวดหมู่ของข้อความนี้ให้หน่อย
เลือกให้น้อยที่สุด (ถ้าเป็นไปได้)

ยังไม่มีใครตอบ

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    เปิดสินเชื่อรากฐานไม่ต้องค้ำประกัน
    ข่าวปลอม อย่าแชร์! ❌ เว็บฯ https://travelkub.com/ เปิดสินเชื่อรากฐาน ไม่ต้องค้ำประกัน โดย ธ. ออมสิน . ตามที่มีการตรวจพบข้อมูลเกี่ยวกับเว็บฯ https://travelkub.com/ เปิดสินเชื่อรากฐาน ไม่ต้องค้ำประกัน โดย ธ. ออมสิน ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้ว โดยธนาคารออมสิน กระทรวงการคลัง พบว่าประเด็นดังกล่าว เป็นข้อมูลเท็จ . กรณีที่มีการส่งต่อข่าวสารเรื่อง ธ. ออมสิน เปิดสินเชื่อรากฐานรอบใหม่ ให้ยืมสูงสุด 10,000-30,000 บาท ทุกอาชีพ ไม่ต้องค้ำประกัน ผ่านเว็บฯ https://travelkub.com/ ทางธนาคารออมสิน กระทรวงการคลัง ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่า สินเชื่อดังกล่าว เป็นสินเชื่อห่วงใย (เพื่อสู้ภัย COVID-19) ผ่าน MyMo ซึ่งได้ครบระยะเวลาดำเนินโครงการแล้วเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2565 จึงขอแจ้งว่า ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลเท็จ ทั้งยังมีการแอบอ้างนำชื่อ และโลโก้ของธนาคารออมสินโฆษณาชวนเชื่อ . ดังนั้นขอให้ประชาชนอย่าหลงเชื่อเพจดังกล่าว ที่มีการแอบอ้างชื่อของธนาคารในการชักชวนในลักษณะนี้ โดยสามารถติดตามข่าวสารจากสื่อช่องทางหลักของธนาคารออมสิน ได้ที่เว็บไซต์ www.gsb.or.th , แอปพลิเคชัน MyMo , Social Media ช่องทาง GSB Society และ GSB Now หรือ GSB Contact Center โทร. 1115 เท่านั้น . บทสรุปของเรื่องนี้คือ : ข้อมูลดังกล่าวเป็นสินเชื่อห่วงใย (เพื่อสู้ภัย COVID-19) ซึ่งครบระยะเวลาโครงการเมื่อวันที่ 30 ก.ย. 65 ทั้งยังมีการแอบอ้างนำชื่อ และโลโก้ของธนาคารออมสินโฆษณาชวนเชื่อโดยไม่ได้รับอนุญาต . หน่วยงานที่ตรวจสอบ : ธนาคารออมสิน กระทรวงการคลัง
    std48339
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false