1 คนสงสัย
ไม่ระบุชื่อ
 •  9 เดือนที่แล้ว
1 คนว่า มีความเห็นส่วนตัว
meter: false
1 ความเห็น

ผู้บริโภคเฝ้าระวัง

Joke Air เลือกให้ข้อความนี้💬 มีความเห็นส่วนตัว

เหตุผล

...

ความเห็นต่าง

1. คิวอาร์โค้ด แบบที่ขึ้นบนจอเครื่องแคชเชียร์หรือจอเครื่องคิดเงิน(เช่นเครื่องรูดบัตร) มักจะมีราคารวมหรือจำนวนเงินมาให้ด้วยเลย คือไม่ต้องใส่จำนวนเงินเองตอนสแกนจ่าย ถ้าเป็นในลักษณะนี้ก็แสดงว่า ถ้าคิดเงินเจ็ดหมื่นจริง ก็ต้องเป็นที่พนักงานคิดเงินผิด หรือใส่ราคาผิดให้เราสแกน (แต่เวลาเราสแกน ก็จะต้องมีขึ้นบนจอมือถือให้ดูให้ตรวจสอบ ก่อนกดยืนยัน)
2. คิวอาร์โค้ดแบบเป็นป้ายหรือแผ่นกระดาษ ติดตั้งที่ร้าน เช่นที่เคาเตอร์แคชเชียร์ หรือคนขายยื่นแผ่นป้ายคิวอาร์โค้ดของตัวเองมาให้ เป็นต้น ที่เป็นแบบที่ผู้สแกนจ่ายต้องใส่ตัวเลขจำนวนเงินเอง มันก็เป็นไปได้มากที่คนสแกนจะใส่เลขผิดเอง เช่น 70 หรือ 700 กลายเป็น 7000 หรือ 70000 เพราะแอพธนาคารไม่ได้เติมจุดหรือทศนิยมอัตโนมัติ
(ต่างจากเครื่องรูดบัตรที่มักจะต้องกดศูนย์เกินไปอีก2ครั้ง เช่น รูด 500 ต้องกดเลข 50000 จึงจะขึ้นบนจอเป็น 500.00 แต่แอพธนาคารนั้น ถ้าสแกนจ่าย 500 ถ้าต้องกดเลขเองก็กดแค่เลข 500)
3. การที่ยอดเงินหายไปนั้น ถ้าหายไปเพราะการสแกนจ่ายจริง ก็น่าจะเห็นได้จากในแอพตั้งแต่แรกแล้วว่า สแกนจ่ายไปเท่าไร สแกนเสร็จแล้วจำนวนเงินหายไปหรือลดลงไปเท่าไรอย่างไร ก่อนที่จะไปกดเอทีเอ็มตอนหลังตามที่กล่าวอ้าง (และคนเราเดี๋ยวนี้มักนิยมมีบัญชีเกิน 1 ธนาคารหรือเกิน 1 บัญชี ก็อาจจะใช้บัตรผิดใบ เป็นคนละบัญชีกัน เลยจำนวนเงินไม่ตรงกัน ก็อาจเป็นได้)
4. การพาดพิงถึงชื่อตึกชื่อนี้ อาจจะเพื่อดิสเครดิตชื่อยี่ห้อนี้หรือไม่?
Thanathun. เลือกให้ข้อความนี้❌ มีเนื้อหาที่หลอกลวง

เหตุผล

ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ ตรวจสอบพบว่า กรณีสแกน QR CODE แล้วถูกดูดเงินหมดบัญชีในทันทีนั้น มีความเป็นไปได้จริงน้อยมาก ซึ่ง QR CODE (Quick Response

ที่มา

https://tna.mcot.net/sureandshare-1238515

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน