1 คนสงสัย
ผอ.สำนักพุทธ แต่ไม่ได้นับถือศาสนาพุทธ จริงหรือ
Mrs.Doubt
 •  3 ปีที่แล้ว
0 ความเห็น
ช่วยระบุหมวดหมู่ของข้อความนี้ให้หน่อย
เลือกให้น้อยที่สุด (ถ้าเป็นไปได้)

ยังไม่มีใครตอบ

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    (ประกาศ)อันตรายสูงสุด มีผู้พยายามสร้างสงครามศาสนาในไทย (see-no-evil ) (newspaper)ข้อมูลข่าวสาร…ทางสื่อสังคมออนไลน์…ที่ออกมามากในช่วงหลัง … โดยเฉพาะ เกี่ยวกับศาสนาอิสลามนั้น…ส่วนใหญ่ไม่ตรงตามความเป็นจริง…หรือ เป็นข้อมูลเท็จ…ที่มีการเสริมเพิ่มความเท็จเข้าไปค่อนข้างมาก…มีลักษณะ…เป็นการนำเข้าข้อมูล…และ…เป็นการเผยแพร่ข้อมูลอันเป็นเท็จ…ผ่านระบบคอมพิวเตอร์…ซึ่งเป็นความผิดทางอาญาตามกฎหมาย…ผู้ที่ส่งต่อข้อมูลต่างๆดังกล่าว ย่อมจะมีความผิดไปด้วย…จึงต้องระวังในการส่งต่อให้มาก ~ เช่น ข้อมูลเท็จที่ว่า… รัฐบาลชุดปัจจุบัน …ภายใต้การนำของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี …ได้สนับสนุนงบประมาณในการก่อสร้างมัสยิด และมัสยิดกลางประจำจังหวัด…จำนวนหลายแห่ง ตลอดจนตั้งเงินเดือนโต๊ะอิหม่าม เดือนละ 18,000 บาท และ คณะกรรมการประจำมัสยิดมีเงินเดือนทุกคน นั้น กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ได้ชี้แจงว่า ข่าวสารดังกล่าวส่วนใหญ่เป็นเรื่องเท็จ และเป็นการบิดเบือนข้อเท็จจริง จึงขอให้ข้อมูลที่ถูกต้องเพื่อประชาชนทุกคนจะได้ทราบความจริง ดังนี้ 1.มัสยิดกลางประจำจังหวัด…ที่กล่าวอ้างถึงในสื่อสังคมออนไลน์ข้างต้น มีข้อเท็จจริง ดังนี้ 1.1 มัสยิดกลาง…ประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช …ก่อสร้างด้วยงบประมาณแผ่นดิน จำนวน 104 ล้านบาทเศษ แต่เป็นโครงการที่ผูกพันมาจากการอนุมัติของคณะรัฐมนตรีในขณะนั้น (พ.ศ.2555) มิใช่ รัฐบาลในปัจจุบัน โดยเป็นงบผูกพัน 3 ปี พ.ศ.2557-2559 ซึ่งมอบหมายให้กรมการปกครอง เป็นหน่วยขอรับงบประมาณ และโอนจัดสรรให้แก่ จ.นครศรีธรรมราช มิได้เป็นการอนุมัติของ ครม.ชุดปัจจุบันแต่อย่างใด 1.2 มัสยิดกลางประจำจังหวัดนนทบุรี …เป็นการก่อสร้างอาคารศูนย์บริหารกิจการศาสนาอิสลาม…จังหวัดนนทบุรี …ซึ่งก่อสร้างด้วยงบประมาณ…ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี จำนวน 85 ล้านบาท …มิได้เกิดจากการอนุมัติของ ครม.ชุดปัจจุบัน 1.3 มัสยิดกลางประจำจังหวัดปัตตานี …จังหวัดนราธิวาส และจังหวัดยะลา เป็นมัสยิดกลาง…ที่มีมาแต่ดั้งเดิมแล้ว บางแห่งสร้างมาตั้งแต่ พ.ศ.2424 พ.ศ.2468 และ พ.ศ.2497 โดยเงินส่วนใหญ่…ที่ใช้ในการก่อสร้าง…ก็มาจากเงินบริจาคของประชาชนในพื้นที่ …แต่อาจมีการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาลในขณะนั้นบ้าง …ตามนโยบายด้านความมั่นคง …มิใช่การก่อสร้างขึ้นใหม่แต่อย่างใด… ซึ่งรัฐบาลในยุคต่อๆ มา (หลายรัฐบาล) ได้จัดสรรงบประมาณ…เพื่อการบูรณะและต่อเติมให้มีความมั่นคงแข็งแรงและปลอดภัย…ต่อชาวไทยมุสลิม…ที่มาประกอบกิจกรรมทางศาสนา …ซึ่งใช้งบประมาณจำนวน 22 ล้านบาทบ้าง 28 ล้านบาทบ้าง สูงสุดประมาณ 35 ล้านบาทเท่านั้น มิใช่ เป็นเงินจำนวนมาก ที่กล่าวอ้างโจมตี 1.4 มัสยิดกลางประจำจังหวัดภูเก็ต …มีจุดประสงค์ให้เป็นศูนย์บริหารกิจการศาสนาอิสลามจังหวัดภูเก็ต…และศูนย์พัฒนาอาหารฮาลาล …ไม่ใช่อาคารมัสยิดกลางประจำจังหวัด …ก่อสร้างโดยงบประมาณขององค์ปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดภูเก็ต …และเงินบริจาคของประชาชนในจังหวัดภูเก็ต …จำนวน 250 ล้านบาทเศษ…มิใช่ งบประมาณจากรัฐบาล 1.5 สำหรับจังหวัดมุกดาหาร จังหวัดร้อยเอ็ด และ จังหวัดบึงกาฬ ยังไม่มีมัสยิดกลาง จะมีเฉพาะมัสยิดทั่วๆ ไป ซึ่งมาจากเงินบริจาคของประชาชนเท่านั้น 2. เนื่องจากผู้นำศาสนาอิสลาม…มีอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม พ.ศ.2540 ในการดูแลพี่น้องชาวไทยมุสลิมในเรื่องต่างๆ เช่น การจัดทำทะเบียนสัปปุรุษ การสอนหลักธรรมศาสนาให้สัปปุรุษ การออกหนังสือรับรองการสมรสตามหลักศาสนา การจัดกิจกรรมทางศาสนา และการประนีประนอมข้อพิพาท ว่าด้วยครอบครัวและมรดกตามหลักศาสนา ดังนั้น รัฐจึงได้กำหนดให้ผู้นำทางศาสนาบางตำแหน่ง…ได้รับเงินค่าตอบแทนมาตั้งแต่ พ.ศ.2539 ซึ่งก็ได้มีการปรับปรุงค่าตอบแทนให้เหมาะสมกับสภาพทางเศรษฐกิจโดยปัจจุบัน 2.1 อิหม่าม ได้ค่าตอบแทนเดือนละ 1,200 บาท 2.2 คอเต็บ และบิหลั่น เดือนละ 1,000 บาท 2.3 ประธานกรรมการอิสลามประจำจังหวัด ได้รับค่าตอบแทนเดือนละ 1,900, 2,700 หรือ 3,500 บาท ขึ้นอยู่กับจำนวนมัสยิดในแต่ละจังหวัด 2.4 กรรมการอิสลามประจำจังหวัด และกรรมการอิสลามประจำมัสยิด ไม่มีค่าตอบแทนแต่อย่างใด 2.5 นอกจากนี้ กรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย และกรรมการอิสลามประจำจังหวัดได้รับค่าเบี้ยประชุมครั้งละ 1,100 บาท ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยเบี้ยประชุมกรรมการ พ.ศ.2547 อีกด้วย ~ อนึ่ง ได้ทราบว่า นายกฯประยุทธ์ ฯ ได้ชี้แจงว่า "ตนเองและภริยานั้น เป็นผู้นับถือศาสนาพุทธ 100% และ ห้อยพระตลอด ส่วนภริยาก็สวดมนต์ไหว้พระตลอด ไม่ได้นับถือศาสนาอิสลาม ตามการกล่าวหาในสื่อสังคมออนไลน์ ~ ดังนั้น ข่าวสารทางสื่อสังคมออนไลน์…ในกรณีต่างๆดังกล่าว …จึงเป็นการให้ข้อมูลอันเป็นเท็จ…และบิดเบือนข้อเท็จจริง …เพื่อสร้างความขัดแย้งในสังคมไทย …ซึ่งเป็นสังคมพหุวัฒนธรรม …อีกทั้งยังเป็นการสร้างความเข้าใจผิดต่อรัฐบาลชุดปัจจุบัน …นอกจากนี้การกระทำดังกล่าว…ยังเป็นการนำเข้าข้อมูลและเผยแพร่ข้อมูลอันเป็นเท็จ…ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นความผิดตามกฎหมายอาญาอีกด้วย จึงเป็นสิ่งที่พวกเรา พึงต้องระวังการส่งต่อข้อมูลข่าวสารอันเป็นเท็จด้วยนะครับ (Unity)(Unity)(Unity)(Unity)(Unity)
    ไม่ระบุชื่อ
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    เครื่องหมาย อย. มีหน้าที่รับรองเฉพาะส่วนผสม สถานที่ผลิต และระบบการผลิตแต่ไม่ได้รับรองสรรพคุณ จริงหรือคะ
    ในปัจจุบันมีโฆษณาอาหารเสริมขายเป็นจำนวนมาก บางยี่ห้อมีการโฆษณาชวนเชื่อเกินจริง โดยใช้เลข อย. มากำกับ ดังนั้นควรเช็คก่อนเชื่อโฆษณาอาหารเสริม ความจริงที่ต้องรู้และใช้วิจารณญาณในการเลือกบริโภค อีกทั้งในเรื่องการใช้เครื่องหมาย อย. มาเสริมโฆษณาให้ดูน่าเชื่อถือเกินจริงเพราะเครื่องหมาย อย. มีหน้าที่รับรองเฉพาะส่วนผสม สถานที่ผลิต และระบบการผลิตแต่ไม่ได้รับรองสรรพคุณ อย่าหลงเชื่อคำโฆษณาที่อวดอ้างสรรพคุณเกินจริง เพราะอาหารเสริมไม่ใช่ยารักษาโรค เช็คก่อนซื้อ -ฉลาก อย. ผลิตภัณฑ์ -เลขที่การขอ อนุญาตโฆษณา -เนื้อหาโฆษณาว่าตรงตามสรรพคุณของผลิตภัณฑ์ -แหล่งขาย แหล่งผลิต และผู้ประกอบการ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false