1 คนสงสัย
30 จังหวัด ระวังน้ำท่วมฉับพลัน น้ำไหลหลาก ช่วงวันที่ 26 พ.ค. 67
ไม่ระบุชื่อ
 •  6 เดือนที่แล้ว
meter: true
1 ความเห็น

ภาคอีสานภาคเหนือภาคใต้สภาพอากาศ

Thanathun. เลือกให้ข้อความนี้✅ มีเนื้อหาที่เป็นจริงทั้งหมด

เหตุผล

สทนช. ได้ประเมินวิเคราะห์สถานการณ์น้ำตามฝนคาดการณ์จากกรมอุตุนิยมวิทยา และสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การ มหาชน) และการคาดการณ์พื้นที่เสี่

ที่มา

https://www.antifakenewscenter.com/ภัยพิ⋯ฉับพลัน-น้ำไหลหลาก-ช่วงวันที่-26-พ-ค-67/

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 1 คนสงสัย
    อือฮา แห่บูชาน้ำผุดใต้ต้นลำใย เชื่อป่วยไข้ดื่มกิน ทารักษาโรคหายขาด
    ฮือฮาบ่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ ผุดใต้ต้นลำไย ลานหน้าบ้าน 2 ตายาย ชาวบ้านแห่ตักกิน-บูชากราบไหว้ ทาตามตัวรักษาโรค เชื่อหายขาด อาการดีขึ้น เมื่อวันที่ 12 มิ.ย.62 ที่บ้านเลขที่ 112 หมู่ที่ 17 บ้านดงเจริญ ต.แม่ยาว อ.เมือง จ.เชียงราย ซึ่งเป็นบ้านของ นายบุตร-นางแสงหล้า ทิศอุ่น พ่ออุ้ย-แม่อุ้ย วัย 70 ปี บรรยากาศคึกคักเกือบจะตลอดทั้งวัน หลังบริเวณใต้ต้นลำไย มีน้ำผุดออกมาลักษณะคล้ายตาน้ำ แล้วมีเสียงร่ำลือบอกต่อๆกันว่า เมื่อไปกราบไหว้บูชาตักมาดื่ม หรือทาตามจุดที่เจ็บปวดคัดยอก จะหายหรืออาการดีขึ้น ชึ่งเจ้าของบ้าน ต้องเอาไม้ไผ่มาล้อมไว้ และใช้ปูนก่อเป็นบ่อ แล้วต่อท่อให้น้ำไหลออกมาลงในภาชนะต่างๆ ที่มีคนนำมารองรับน้ำเอาไว้ เพื่อให้ตักเอาไปใช้ได้สะดวก พร้อมตั้งกองผ้าป่าเปิดให้คนที่มาขอรับน้ำ ร่วมทำบุญยกช่อฟ้าวัดใกล้บ้าน ซึ่งก็มีคนร่วมทำบุญกันมากน้อยตามศรัทธา
    std46349
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ปล่อยเด็กเล่นมือถือนานๆ อาจทำให้เป็นอัมพาตที่หน้าครึ่งซีกได้ จริงหรือ
    กรมการแพทย์ โดยสถาบันประสาทวิทยา เตือนหากคุณพ่อคุณแม่เลี้ยงลูกด้วยมือถือ อาจเกิดอาการอ่อนแรง บริเวณใบหน้าครึ่งซีก ใบหน้าเบี้ยว หลับตาไม่สนิท ปากเบี้ยว มีน้ำไหลที่มุมปาก และอาจพูดไม่ชัด การรับรสที่ลิ้นผิดปกติ ปวดศีรษะ หูอื้อข้างเดียวหรือ 2 ข้าง ดื่มน้ำลำบากพูดไม่ชัด เป็นผลมาจากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 ผิดปกติ จริงหรือ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    #ข่าวลือ..16 ก.ค.65 ในโซเชียลลาว แชร์ภาพ/คลิปน้ำไหลซึมออกมาจากสันเขื่อนน้ำเทิน 1 เมืองปากกะดิง แขวงบอลิคำไซ รอคำชี้แจงจากผู้ดูแลเขื่อน ตอนนี้มีข้อมูลยังสับสน
    ไม่ระบุชื่อ
     •  2 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    กรมควบคุมโรคแนะนำประชาชนให้ระมัดระวังการรับประทานกลอยในหน้าฝน จริงหรือ
    การพยากรณ์โรคและภัยสุขภาพประจำสัปดาห์นี้ คาดว่ามีโอกาสจะพบผู้ป่วยโรคอาหารเป็นพิษจากการรับประทานกลอยเพิ่มขึ้น เนื่องจากในช่วงฤดูฝนเป็นช่วงที่กลอยกำลังออกดอกและมีหัว ซึ่งทำให้กลอยมีพิษสูงกว่าฤดูอื่นๆ “กลอย” มีลักษณะทั่วไปเป็นไม้เถา มีหัวใหม่เกิดขึ้นทุกปีจากส่วนลำต้นใต้ดิน ในหัวกลอยมีแป้งและมีสารพิษที่ชื่อว่าไดออสคอรีน (Dioscorine) มีฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง ผู้ที่ได้รับพิษจากกลอยจะมีอาการ คันที่ปาก ลิ้น คอ คลื่นไส้ อาเจียน และทำให้เกิดอาการ มึนเมา วิงเวียน ใจสั่น ตาพร่า อึดอัด โดยข้อมูลจากศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สังกัด สวทช. พบว่าการขจัดพิษจากหัวกลอยในสมัยก่อนทำได้โดยการฝานหัวกลอยเป็นชิ้นบางๆแล้วนำมาแช่น้ำไหล เช่น ในลำธาร ซึ่งต้องใช้เวลาชะล้างสารพิษนานไม่ต่ำกว่า 7 วัน หรืออีกวิธีหนึ่งคือการนำไปแช่ในน้ำเกลือเข้มข้น โดยเกลือจะทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนสารไดออสคอรีนในแผ่นกลอยได้เร็วขึ้น แต่ต้องถ่ายน้ำทิ้งหลายๆ ครั้ง และใช้เวลาแช่ไม่ต่ำกว่า 3 วัน อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีวิธียืนยันว่าการกำจัดพิษข้างต้นจะสามารถกำจัดพิษได้ 100% กรมควบคุมโรค จึงขอแนะนำประชาชนให้ระมัดระวังการรับประทานกลอย โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน หากนำมารับประทาน ควรเลือกซื้อกลอยจากแหล่งที่น่าเชื่อถือและมีการขจัดพิษแล้ว หากไม่แน่ใจควรปรุงกลอยโดยผ่านกรรมวิธีการขจัดพิษที่เหมาะสมก่อนทุกครั้ง และหลีกเลี่ยงไม่ให้เด็กรับประทานกลอย จริงหรือ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false