1 คนสงสัย
ยาสีฟัน
ยาสีฟันโฆษณาเกินจริิง
std48389
 •  1 ปีที่แล้ว
0 ความเห็น

ยาสมุนไพร

ยังไม่มีใครตอบ

เพิ่มความเห็นใหม่

กรุณา  เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก ก่อน

คุณอาจจะสนใจข้อความเหล่านี้ที่คล้ายคลึงกัน

  • 2 คนสงสัย
    เตือนอย่าหลงเชื่อโฆษณา ‘สเปรย์พ่นคอ’ อ้างป้องกันเชื้อโควิด19
    สภาองค์กรของผู้บริโภค เตือนอย่าหลงเชื่อโฆษณา ‘สเปรย์พ่นคอ’ อ้างป้องกันเชื้อโควิด19 ด้าน อย. ระบุแล้วเป็นโฆษณาเกินจริง มีข้อความไม่เป็นธรรมกับผู้บริโภค จากการที่สภาองค์กรของผู้บริโภค (สอบ.) เตือน อย่าหลงเชื่อโฆษณา ‘สเปรย์ฟ้าทะลายโจรสำหรับพ่นปากและลำคอ’ อ้างสรรพคุณป้องกันโควิด-19 จึงแจ้งไปยังสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เพื่อขอให้ตรวจสอบการโฆษณาสเปรย์สำหรับพ่นลำคอข้างต้นว่าเข้าข่ายผิดกฎหมายหรือไม่
    std48951
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    อย.เตือนอย่าซื้อผลิตภัณฑ์อ้างลดอ้วน ‘De2xy และ Me2shape’ เสี่ยงอันตราย
    อย.เตือนสาวอยากผอมระวัง อย่าซื้อผลิตภัณฑ์อวดอ้างลดอ้วน De2xy และ Me2shape พบเป็นผลิตภัณฑ์ที่ยังไม่ขออนุญาตกับ อย. แถมโฆษณาอวดอ้างสรรพคุณเกินจริง เสี่ยงได้รับอันตรายถึงชีวิต นพ.พูลลาภ ฉันทวิจิตรวงศ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เปิดเผยว่า ตามที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้รับเรื่องร้องเรียนจากผู้บริโภคให้ตรวจสอบการโฆษณาผลิตภัณฑ์ “De2xy และ Me2Shape” ซึ่งพบว่ามีการโฆษณาอ้างสรรพคุณเกินจริงผ่านสื่อสังคมออนไลน์ นั้น อย.ตรวจสอบข้อเท็จจริง พบการโฆษณาสรรพคุณอ้างลดน้ำหนักทางเฟซบุ๊กชื่อ Sunisa Lv’tl แสดงข้อความในทำนองช่วยควบคุมน้ำหนัก เปลี่ยนหุ่นเสีย เป็นหุ่นสวย เพราะมีตัวช่วยหุ่นดีที่ไม่ต้องอด ก็ลดได้ เพียงแค่วันละ 1 - 2 แคปซูล ซึ่งข้อความเหล่านี้เป็นการโฆษณาโดยไม่ได้รับอนุญาตและโอ้อวดสรรพคุณเกินจริง เพื่อจูงใจให้ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ อย.ได้สั่งระงับการโฆษณาและดำเนินการทางกฎหมายกับผู้โฆษณาแล้ว นอกจากนี้ จากการสืบค้นข้อมูลในระบบตรวจสอบผลิตภัณฑ์ ไม่พบข้อมูลการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหารในชื่อดังกล่าวแต่อย่างใด พร้อมกันนี้ได้ประสานเจ้าหน้าที่ตำรวจสืบหาต้นตอแหล่งผลิตผลิตภัณฑ์ต่อไป รองเลขาธิการ อย. กล่าวต่อว่า ขอเตือนภัยสาวอยากผอมพึงระวัง อย่าตกเป็นเหยื่อหลงเชื่อคารมการโฆษณาเกินจริงจากผู้ขายโดยเด็ดขาด นอกจากจะไม่ได้ช่วยให้น้ำหนักลดลงแล้ว ยังส่งผลเสียต่อสุขภาพกรณีเป็นยาลดความอ้วนส่วนใหญ่ออกฤทธิ์ลดความอยากอาหาร เป็นยาที่กระตุ้นประสาทส่วนกลางการใช้จะทำให้น้ำหนักลดลงได้ขณะรับประทานยา แต่น้ำหนักจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อหยุดยา หรือที่เรียกว่า yo-yo effect และผลข้างเคียงจากการใช้ยาที่พบบ่อย คือ นอนไม่หลับ เวียนศีรษะ วิตกกังวล ตาพร่า ดังนั้น การใช้ยาเพื่อลดความอ้วน ต้องอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญเท่านั้น อย่าซื้อยามารับประทานเอง ส่วนกรณีเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ไม่ได้ขออนุญาตอย่างถูกต้อง มักตรวจพบว่ามีการผสมยาหรือสารอันตราย ซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ พร้อมเตือนผู้ขายอย่าโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพอวดอ้างลดความอ้วนผ่านสื่อทุกช่องทาง ถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย หากตรวจพบจะถูกดำเนินคดีทันที ทั้งนี้ หากผู้บริโภคพบเห็นการอวดอ้างโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพต้องสงสัย สามารถแจ้งร้องเรียนได้ที่ สายด่วน อย. 1556 หรือที่ E-mail: 1556@fda.moph.go.th หรือ ตู้ ปณ. 1556 ปณฝ. กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี 11004 หรือร้องเรียนผ่าน Oryor Smart Application หรือสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัดทั่วประเทศ
    std47993
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    มูลนิธิเพื่อผู้บริโภคกับอย. ร่วมมือกันเอาผิดผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโฆษณาเกินจริง จริงหรือ
    หลังจากมีข่าว กาละแมร์โฆษณาเกินจริงและมีผู้เสียชีวิตจากการรับประทานผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ทำจากถั่งเช่า ทำให้มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค เสนอ อย. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบังคับใช้กฎหมายและดำเนินการเอาผิดให้ถึงที่สุด กรณีผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโฆษณาเกินจริง จริงหรือ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ยาสีฟัน
    วันนี้ (19 ต.ค.2565) สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้ตรวจสอบข้อมูลข่าวปลอมของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีการเผยแพร่ในสื่อโซเชียลมีเดีย พบผลิตภัณฑ์ยาสีฟัน 3 ยี่ห้อ โฆษณาโอ้อวดเกินจริงการโฆษณาดังกล่าวเป็นการโฆษณาเกินความเป็นจริง ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดต่อผู้บริโภค เนื่องจากยาสีฟันเป็นเพียงผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ใช้กับฟันและเยื่อบุในช่องปาก เพื่อทำความสะอาดเท่านั้น ดังนั้นการอวดอ้างว่าสามารถแก้ปัญหาร้อนใน รักษาฟันผุ เหงือกอักเสบ ปวดฟัน ฟันโยก จึงเป็นข้อความที่เป็นเท็จ โอ้อวดเกินจริงและทำให้เข้าใจผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับเครื่องสำอาง
    std48015
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    แพทย์ผิวหนังเตือนภัยอันตรายจากการใช้ครีมหน้าขาว จริงหรือคะ
    แพทย์ผิวหนังเตือนภัยอันตรายจากการใช้ครีมหน้าขาว โดยมีการโฆษณาเกินจริง และมีช่องทางการซื้อขายที่หลากหลาย เช่น สถานเสริมความงาม ทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีทั้งผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการรับรองจากองค์การอาหารและยา และไม่ผ่านการรับรอง ทำให้เกิดอันตรายทั้งแบบเรื้อรังและเฉียบพลันได้ อาการข้างเคียงจากการใช้ผลิตภัณฑ์หรือเครื่องสำอางในกลุ่มที่ทำให้มีผิวขาว จะมีอาการคัน มีผื่นผิวหนังอักเสบ ระคายเคืองจากการแพ้ สังเกตได้จากบริเวณผิวหนังที่ใช้ผลิตภัณฑ์หรือเครื่องสำอางนั้น ๆ มีลักษณะ บวม แดง ร้อน เมื่อใช้เป็นระยะเวลานาน ๆ อาจจะทำให้สีของผิวหนังเข้มขึ้น สีเล็บผิดปกติ และเปราะบางได้ บางกรณีเกิดรอยขาวคล้ายกับด่างขาวได้ จริงหรือคะ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    พลัง! สิทธิผู้บริโภค อาวุธลับปราบลวง
    ถ้าบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง รับรองว่าจับได้ ปราบได้อย่างเด็ดขาดแน่นอน” มลฤดี โพธิ์อินทร์ นักวิชาการด้านอาหารยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ สภาองค์กรของผู้บริโภค ยืนยัน แต่ปัญหาสำคัญมีว่า ทุกหน่วยงานก็ออกกฎหมายมาควบคุมเรื่องการโฆษณาเกินจริงจน “ผู้บริโภค” เกิดความสับสนว่าเมื่อเกิดเจอกับ “โฆษณาเกินจริง” แล้ว หน่วยงานไหนจะเป็นคนดูแลหลัก หน่วยงานไหนจะปราบปรามเป็นหลัก ผู้บริโภคจะไปที่ไหน? เท่าที่ติดตามในเรื่องนี้พุ่งเป้าไปที่ “สิทธิผู้บริโภค”...ก็คือการโฆษณามีผลต่อผู้บริโภค การโฆษณาถือว่าเป็นส่วนหนึ่งให้กับผู้บริโภคเพื่อตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าหรือบริการ “การโฆษณาถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญา เราอาจจะมองว่าสัญญาต้องไปเซ็นเอกสาร แต่การโฆษณาที่โฆษณาออกมาถือเป็นสัญญาที่ทำให้ผู้บริโภคตัดสินใจ ผู้บริโภคควรได้รับการคุ้มครองเกี่ยวกับการโฆษณาเพื่อไม่ให้เกิดการละเมิดสิทธิผู้บริโภค จึงมีการออกกฎหมายต่างๆมาเพื่อควบคุม”
    std47989
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    ครีมขาวใสภายใน3วัน
    ภก.สมชาย ปรีชาทวีกิจ รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา กล่าวว่า หัวเชื้อผิวขาวตัวดังกล่าวจากการตรวจสอบพบว่ามีความผิดเข้าข่ายการโฆษณาเกินจริง ในกรณีที่มีการเขียนข้อความว่า สามารถทำให้ผิวขาวขึ้นโดยสามารถเปลี่ยนสภาพผิวได้จากเดิมอย่างผิดปกติ จากผิวดำกลายเป็นขาว และที่มีข้อความว่าสามารถขาวขึ้นได้ภายใน 3 วัน หรือ 7 วัน ถือว่าเป็นการโฆษณาเกินจริงอย่างแน่นอน เนื่องจากปกติแล้วไม่สามารถยับยั้งหรือเปลี่ยนแปลงการผลิต เม็ดสีเมลานิน จึงไม่สามารถทําให้สีผิวเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ รวมถึงเน็ตไอดอลชื่อดังที่มีรูปในการโฆษณาก็อาจจะมีความผิดฐานโฆษณาเกินจริงได้เช่นกัน ขณะนี้ทางเจ้าหน้าที่ของเราอยู่ระหว่างดำเนินการแจ้งไปยังผู้โพสต์เพื่อระงับโฆษณาและดำเนินการแจ้งความผิด ซึ่งโฆษณามีความผิด ฐานเกินความจริงหรือก่อให้เกิดความไม่ยุติธรรมกับผู้บริโภค โทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 1 แสนบาทนอกจากนี้จะมีการตรวจสอบไปยังบริษัทผู้ผลิตว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับการโฆษณาหรือไม่ด้วย
    std48002
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    'ถั่งเช่า กินแล้วเสี่ยง' ไตวาย จริงไหม ? เปิดมุมมองแพทย์แผนจีน
    ถั่วเช่า ได้มีการอวดอ้างถึงสรรพคุณที่เกินจริง จนมีผู้ผู้คนตกเป็นเหยื่อการตลาดของบรรดาผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่ผสมถั่วเช่า นำมาสู่การตรวจค้นตรวจสอบและดำเนินคดี จากกระแสการตรวจสอบโฆษณาเกินจริง
    PYU 3
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    อาหารเสริมของกาละแมร์ Powershot
    โฆษณาเกินจริง อวดอ้างสรรคุณเกินจริง กินแล้วจมูกจะเข้ารูป หน้ายกกระชับ
    std48083
     •  1 ปีที่แล้ว
    meter: false
  • 1 คนสงสัย
    คอลลาเจน ไร้มาตรฐาน ถ้ารับประทานมากๆ อาจไตวายได้ จริงหรือ
    ทีมข่าวสายตรวจระวังภัย ได้รับการร้องเรียนจากหญิงสาวหลายรายว่า ได้หาซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร "คอลลาเจน" มารับประทานเพราะหลงเชื่อคำโฆษณาที่เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ตว่าผลิตภัณฑ์ชนิดนี้เมื่อรับประทานแล้วทำให้ผิวขาวใส เป็นธรรมชาติ โดยเห็นผลทันทีในระยะเวลาไม่นาน แต่ปรากฏว่าเมื่อหาซื้อมารับประทานแล้วกลับไม่ได้ขาวจริงอย่างที่อ้าง อย. มีความเป็นห่วงว่า ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร "คอลลาเจน" ที่จำหน่ายอยู่นั้นอาจโฆษณาเกินจริง ใช้แล้วไม่ขาวจริง และจากการสำรวจพบว่าผลิตภัณฑ์ที่จำหน่ายอยู่ในท้องตลาดขณะนี้ถึง 90 เปอร์เซ็นต์ ยังไม่ได้ขออนุญาต และหากรับประทานเข้าไปจำนวนมากจะส่งผลกระทบต่อระบบการทำงานของไตจนอาจทำให้เกิดอาการไตวายได้ จริงหรือ
    anonymous
     •  4 ปีที่แล้ว
    meter: false